Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรี ปานกุล-
dc.contributor.authorพรรัตน์ สินชัยพานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-27T07:35:01Z-
dc.date.available2021-09-27T07:35:01Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746327062-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77318-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractศึกษาองค์ประกอบมะละกอ (carica papaya) โดยใช้มะละกอแดงและมะละกอเหลือทาการวิเคราะห์องค์ประกอบเคมี ได้แก่ รงควัตถุไรทีนอยด์ (ไลเคฟีน เบตาแคโรทีน และ คริปโตแซนทีน) ไนเดรต กรดแอสคอร์บิก ร้อยละความเป็นกรด ค่าความเป็นกรดด่าง และปริมาณของแข็งที่สามารถละลายน้ำได้ โดยใช้เครื่องมือสเปกโครโฟโตมิเตอร์ ไนเดรตอิออน อิเลคเดรต แอนาไลเซอร์ พีเอชมิเตอร์ และรีแฟรกเตมิเตอร์ ตามลำดับ ผลการทดสอบพบว่า ในมะละกอเหลือมีปริมาณเบตาแคไรทีน และไนเดรตมากกว่า ส่วนค่าความเป็นกรดด่าง และปริมาณของแข็งที่สามารถละลายน้ำได้น้อยกว่าในมะละกอแดง ศึกษาผลของความเข้มข้นน้ำเชื่อมของมะละกอกระป๋อง ต่อการละลายของดีบุก โดยทาการศึกษาไนมะละกอแดงและมะลกอเหลือ ที่ความเข้มข้นน้ำเชื่อม 2 ระดับ คือ 14-16 Brix และ 18-22 Brix โดย เก็บผลิตภัณฑ์ไว้เป็นเวลา 10 เดือน ติดตามผลด้วยการวิเคราะห์ปริมาณดีบุกโดยใช้เครื่องอะคอมมิกแอพ ชอพชันสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ ผลที่ได้พบว่า มะละกอแดงและมะละกอเหลือกระป๋องที่ความเข้มข้นน้ำเชื่อม 18-22 Brix มีปริมาณของดีบุกต่ำกว่าที่ความเข้มข้นเชื่อม 14-18 Brix ศึกษาผลขององค์ประกอบทางเคมีของมะละกอกระป๋อง ต่อการละลายของดีบุก ร่วมกับการประเมิน ผล วิเคราะห์ผลที่อายุการเก็บ 0 2 4 6 3 และ 10 เดือน โดยทาการศึกษาในมะละกอแดงและมะละกอเหลือง ที่บรรจุในกระป๋องเคลือบดีบุกและกระป๋องเคลือบแลกเกอร์ และให้มีความเข้มข้นน้ำเชื่อมในผลิต ภัณฑ์ 14-18 Brix พบว่า ที่อายุการเก็บเพิ่มขึ้น โลโคฟีนในมะละกอแดงเบตาแคโรทีนและคริปโตแซนทีนในมะลกอเหลือ ปริมาณเดรต ปริมาณกรดแอสคอร์บิก ร้อยละความเป็นกรด ค่าความเป็นกรดด่าง และปริมาณของแข็งที่สามารถละลายน้ำได้ ในมะละกอทั้ง 2 ชนิดมีค่าลดลง ขณะที่ปริมาณดีบุกมีค่าเพิ่มขึ้น ยกเว้นในมะละกอที่บรรจุกระป๋องเคลือบแลกเกอร์ พบว่ามีปริมาณดีบุกงที่ตลอดช่วงอายุการเก็บ 10 เดือน ผลการประเมินผลทางประสาทสัมผัสของมะละกอกระป๋อง โดยใช้ผู้ทดสอบซิมที่ได้รับการฝึกฝนมาแล้วจำนวน 10 คน พบว่า ผู้ทดสอบให้การยอมรับในด้านสีของมะละกอเหลืองกระป๋อง มากกว่ามะละกอแดงกระป๋อง ส่วนในด้านกลิ่นรส ผู้ทดสอบให้การยอมรับด้านกลิ่นรสของมะละกอเหลืองและมะละกอแดง ที่บรรจุกระป๋องเคลือบดีบุก มากกว่าที่บรรจุกระป๋องเคลือบแลกเกอร์ หลังจากที่เก็บผลิตภัณฑ์ไว้เป็นเวลานาน 6 เดือน โดยมีการให้คะแนนการยอมรับโดยรวมของทุกผลิตภัณฑ์ในด้านสี กลิ่นรส และเนื้อสัมผัส และมีคะแนนลดลง เมื่ออายุการเก็บเพิ่มขึ้น-
dc.description.abstractalternativeRed papaya and yellow papaya (Carica papaya) were analyzed for the chemical compositions regarding to carotenoids pigment (Iycopene, B-carotene and cryptoxanthin), nitrate, ascorbic acid, %acidity, pH and total soluble solid by using spectrophotometer, nitrate ion electrode analyzer, pH meter and refractometer respectively. The results showed that yellow papaya had more B-carotene and nitrate, lower pH and total soluble solid than red papaya. The studying on the effect of final cut-out brix strength on detinning of canned red and yellow papaya at two levels, 14-18 Brix and 18-22 Brix, were studied during storage For 10 months. Tin was detected by atomic absorption spectrophotometer. The results showed that level of tin in both red and yellow canned papaya with cut-out brix strength, 18-22 Brix were lower than products with cut-out brix strength, 14-18 Brix. Chemical composition analysis analysis and sensory evaluation of red and yellow canned papaya on detinning during storage time 0, 2, 4, 6, 8 and 10 months were studied in tin and lacquered cans at cut-out brix strength 14-18 Brix. It was found that the amount of lycopene in red canned papaya, B-carotene and cryptoxanthin in yellow canned papaya, and nitrate level, ascorbic acid content, % acidity, pH and total soluble solid in both studied papaya decreased with increasing storage time, while the amount of tin increased in all products except papaya in lacquered can that it was constant during 10 months time. Results of sensory evaluation by ten panelists showed that panelists accepted colour of canned yellow papaya more than canned red papaya. The flavor scored of yellow and red papaya in tin canned were higher than those in lacquered can after 6 month storage time. Acceptability scores of products for colour, flavor and texture were acceptable for all products and decreased with increasing storage time.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1995.12-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผลไม้กระป๋องen_US
dc.subjectภาชนะบรรจุอาหารen_US
dc.subjectแผ่นเหล็กเคลือบดีบุกen_US
dc.subjectดีบุก -- การละลายen_US
dc.subjectการปนเปื้อนในอาหารen_US
dc.subjectCanned fruit-
dc.subjectFood containers-
dc.subjectTinplate-
dc.subjectTin -- Dissolution-
dc.subjectFood contamination-
dc.titleผลขององค์ประกอบมะละกอกระป๋องต่อการละลายของดีบุกจากภาชนะบรรจุen_US
dc.title.alternativeEffects of papaya compositions on detinning in canned papayaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPatcharee.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1995.12-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornrat_si_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.04 MBAdobe PDFView/Open
Pornrat_si_ch1_p.pdfบทที่ 1680.28 kBAdobe PDFView/Open
Pornrat_si_ch2_p.pdfบทที่ 21.65 MBAdobe PDFView/Open
Pornrat_si_ch3_p.pdfบทที่ 3796.4 kBAdobe PDFView/Open
Pornrat_si_ch4_p.pdfบทที่ 42.32 MBAdobe PDFView/Open
Pornrat_si_ch5_p.pdfบทที่ 5643.95 kBAdobe PDFView/Open
Pornrat_si_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.