Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77455
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาดา สุขหร่อง | - |
dc.contributor.author | กันต์ธร สุทธิธรรม | - |
dc.contributor.author | เจตวดี อนันต์ธนาเกษม | - |
dc.contributor.other | คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-10-01T09:44:50Z | - |
dc.date.available | 2021-10-01T09:44:50Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.other | Sepr 21/59 ค 3.7 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77455 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาการค้นพบและพัฒนายา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | ลูพาลบิจีนินเป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ที่สกัดได้จากเถาของเถาวัลย์เปรียง มีรายงานถึงฤทธิ์ความเป็นพิษ ต่อเซลล์มะเร็งหลายชนิด เช่น มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาในเซลล์มะเร็งรังไข่ ในการศึกษานี้ จึงใช้เซลล์มะเร็งรังไข่สองชนิด ได้แก่ SKOV3 ซึ่งเป็นเซลล์ adenocarcinoma และ PA-1 ซึ่งเป็นเซลล์ teratocarcinoma ในการทดสอบฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์ของลูพาลบีจีนิน พบว่าความเข้มข้นของลูพาลบิจีนินที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็ง ชนิด SKOV3 และ PA-1 ได้ร้อยละ 50 มีค่าเป็น 52.12±5.49 และ 29.37±11.61 ไมโครโมลาร์ ตามลำดับ ลูพาลบิจีนิน ที่ความเข้มขันที่ออกฤทธิ์ยับยั้งซลล์ได้ร้อยละ 50 สามารถกระตุ้นให้ SKOV3 เกิดการตายแบบ apoptosis และมีการ แสดงออกของเอนไซม์ caspase หลายชนิด เมื่อศึกษาการแสดงออกของยีน caspase-3, 8 และ 9 ซึ่งเป็นยีนที่มี ความสำคัญต่อกระบวนการตายแบบ apoptosis พบการแสดงออกของยีนดังกล่าวเพิ่มขึ้นสูงสุดที่เวลา 24 ชั่วโมงจากนั้น จึงลดลง ทั้งนี้ควรมีการศึกษาการแสดงออกของโปรตีนที่เกี่ยวข้องในกระบวนการตายแบบ apoptosis เพิ่มเติมโดยละเอียด เพื่อให้ทราบถึงกลไกการออกฤทธิ์ของสารที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ในขณะที่เซลล์ PA- เมื่อได้รับลูพาลบีจีนินที่ความเข้มข้นที่ออกฤทธิ์ยับยั้งชลล์ได้ร้อยละ 50 นั้นกระตุ้นให้เซลล์ เกิดการตายแบบ necrosis ในชั่วโมงที่ 12 ถึง 48 และพบการตายแบบ apoptosis ในชั่วโมงที่ 72 สอดคล้องกับ ผลการแสดงออกของเอนไซม์ aspase หลายชนิดหลังจากชั่วโมงที่ 48 ทั้งนี้ลูพาลปิจีนินมีผลกระตุ้นให้เซลล์ PA-1 เกิดการ ตายแบบ necrosis ช่วงแรกและแบบ apoptosis ตามมาในช่วงหลัง อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาฤทธิ์ของลูพาลบิจีนิน ต่อเซลล์ PA-1 เพื่อให้ทราบกลไกการออกฤทธิ์ที่แน่ซัดต่อไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | Lupalbigenin is a flavonoid extracted from sterns of Derris scandens Benth. Previous study showed that lupalbigenin has cytotoxicity against many cancer cells such as lung and breast cancer cells. However, cytotoxicity against ovarian cancer cells has not been carried out yet. In this study, we aimed to investigate the cytotoxicity of lupalbigenin against two types of ovarian cancer cell lines, SKOV3 (adenocarcinoma) and PA-1 (teratocarcinoma). It was found that lupalbigenin exhibits cytotoxicity towards SKOV3 and PA-1. The IC50 of SKOV3 and PA-1 were 52.12±5.49 and 29.37±1.61 มM, respectively. From flow cytometry analysis, lupalbigenin induced apoptosis in SKOV3 by multicaspase enzymes expression. Multi Caspase enzymes including caspase-1, 3, 4, 5, 6, 7, 8 and 9 enzyme play an important role in apoptosis. In real-time PCR, the expression of caspase-3, 8 and 9 genes gradually increased until 24 h and then decreased. In further study, expression of proteins related to apoptosis need to be done. It would provide more evidence concerning the clearly mechanism of action of lupalbigenin. The necrosis of PA-1 was observed by flow cytometry analysis after lupalbigenin treatment. However, the apoptotic cells were also detected after 72 h treatment correlating to multicaspase expression which gradually increased after 48 hours. This interesting result suggested that lupalbigenin can induce cell death by both apoptosis and necrosis pathways since the necrosis cells were early detected within 12 h after treatment and apoptotic cells were determined later. Nevertheless, the exact mode of action of lupalbigenin against PA-1 need to be clarified. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เซลล์มะเร็ง | en_US |
dc.subject | Cancer cells | en_US |
dc.subject | เถาวัลย์ | en_US |
dc.subject | Lianas | en_US |
dc.title | ฤทธิ์ความเป็นพิษของสารลูพาลบิจีนินจากเถาวัลย์เปรียงต่อเซลล์มะเร็งรังไข่เพาะเลี้ยง | en_US |
dc.title.alternative | Cytotoxicity of lupalbigenin from Derris scandens against ovarian cancer cell lines | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | suchada.su@chula.ac.th | - |
dc.subject.keyword | เซลล์มะเร็ง | en_US |
dc.subject.keyword | เถาวัลย์ | en_US |
Appears in Collections: | Pharm - Senior projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pharm_SeniorProject_3.7_2559.pdf | ไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.