Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77660
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธารทัศน์ โมกขมรรคกุล | - |
dc.contributor.advisor | สมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์ | - |
dc.contributor.author | ธันย์ชนก พัฒน์ทอง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-10-29T05:05:39Z | - |
dc.date.available | 2021-10-29T05:05:39Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77660 | - |
dc.description | สารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดจากปัญหาสินค้าขาดสต็อกเพื่อศึกษาปฏิกิริยาของผู้บริโภคเมื่อพบว่าสินค้าที่ต้องการขาดสต็อก ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมหรือปฏิกิริยาของผู้บริโภค รวมถึงผลกระทบและความสูญเสียที่เกิดขึ้นกับผู้ผลิตเมื่อสินค้าขาด โดยใช้สินค้าประตูพีวีซีของบริษัทกรณีศึกษาผ่านทางช่องทางร้านค้าปลีกภายในเขตในกรุงเทพมหานครในการศึกษา ทำการศึกษาและรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 210 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร จากนั้นทำการวิเคราะห์ทางสถิติด้วยวิธี Multinomial Logistics Regression จากผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า เมื่อสินค้าขาดสต็อกผู้บริโภคตัดสินใจเลือกเปลี่ยนร้านค้าร้อยละ 36.20% ตัดสินใจเลือกเปลี่ยนไปซื้อสินค้าใหม่ภายใต้ตราสินค้าเดิมร้อยละ 25.20% ถัดมาตัดสินใจเลือกหรือกลับมาซื้อสินค้าในคราวถัดไปร้อยละ 21.40% และที่เหลือตัดสินใจเลือกเปลี่ยนไปซื้อตราสินค้าอื่นทดแทน 17.10% ตามลำดับ นอกจากนี้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปฏิกิริยาของผู้บริโภคเมื่อสินค้าขาด ได้แก่ วัตถุประสงค์ของการซื้อประตูพีวีซี ระดับความเร่งด่วนในการใช้งานประตูพีวีซี และความภักดีในตราสินค้า โดยเฉลี่ยแล้วในระยะสั้นเมื่อเกิดสถานการณ์สินค้าขาดจะทำให้ผู้ผลิตสูญเสียกำไรทั้งสิ้น 271.62 บาท/คน | en_US |
dc.description.abstractalternative | The research aims to examine the impacts of product stock-outs, by studying consumer’s reaction following stock-out, factors affecting consumer’ reaction, and losses incurred by manufacturers or distributors. The selected product for study is PVC doors sold through modern trade channels in the Bangkok Metropolitan Area. The data in this study is collected by interviewing 210 customers in Bangkok. Next, statistically analyzes using Multinomial Logistics Regression method. The analysis results show that when encountering a stock-outs, about 36.20% of the respondents would switch store, 25.20% switch product, 21.40% delay or postpone the purchase and the remaining 17.10% switch brand. The results also reveal that factors significantly influence the consumer’s reaction to stock-outs are the objective of purchasing PVC doors, degree of urgency to use PVC doors and brand loyalty. On the average in the short term, product stock-outs would cause the manufacturer a lost profit of 271.62 baht per customer. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.221 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | การเลือกของผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | การกระจายสินค้าจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค -- การจัดการ | en_US |
dc.subject | Consumer behavior | en_US |
dc.subject | Consumers' preferences | en_US |
dc.subject | Physical distribution of goods -- Management | en_US |
dc.title | ปฏิกิริยาตอบสนองของผู้บริโภคต่อสินค้าขาด : กรณีศึกษาสินค้าประตูพีวีซีในร้านค้าโมเดิร์นเทรด | en_US |
dc.title.alternative | Consumer response to stock-outs : a case study of PVC doors in modern trade | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2020.221 | - |
Appears in Collections: | Grad - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6280023720_Thanchanok.pdf | สารนิพนธ์ (ให้บริการเฉพาะบทคัดย่อ) | 4.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.