Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77736
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิรัชชัย-
dc.contributor.advisorดวงกมล ไตรวิจิครคุณ-
dc.contributor.authorอัญชลี สิทธิกุลธร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-11-10T08:35:05Z-
dc.date.available2021-11-10T08:35:05Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.issn9743468161-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77736-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงแบบพหุระดับของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนากับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้เทคนิค SEM และศึกษาอิทธิพลของคุณลักษณะครู และเชาวน์ปัญญาของนักเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน และครู 11 คน เลือกโดยการสุ่มจากโรงเรียน 11 โรง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ แบบวัดเชาวน์ปัญญามาตรฐานของ JC Raven และ แบบบันทึกคุณลักษณะของครู ข้อมูลสำหรับการวิจัยเป็นข้อมูลระยะยาว 4 ครั้ง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SEM โดยใช้โปรแกรม EOS for Windows 5.7b และโปรแกรม SPSS for Windows 901 ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 1. อัตราพัฒนาการของนักเรียนในระดับภายในกลุ่ม (ตัวแปรแฝงความชันภายในกลุ่ม) มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติต่อตัวแปรผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษจากการวัดทั้ง 4 ครั้ง เท่ากับ 0, 1, 1.372, 1 467 ตามลำดับ และ อัตรา พัฒนาการของนักเรียนในระดับระหว่างกลุ่ม (ตัวแปรแฝงความชันระหว่างกลุ่ม) มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อตัวแปรแฝง พิเศษผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษจากการวัดทั้ง 4 ครั้ง เท่ากับ 0. 1. 0.533 1 454 ตามลำดับ 2. โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงแบบพหุระดับของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยค่าไค-สแควร์เท่ากับ 91,487, dt = 22, p < .001 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) 0.964, ดัชนีวัด ระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) 0.867 ค่า X2/df เท่ากับ 4.158 ดัชนีรากำลังสองเฉลี่ยของเศษ (RMSEA) เท่ากับ 0.078 ค่า NNFI เท่ากับ 0.927 ค่า CFI เท่ากับ 0.965 3. ตัวแปรคณะที่ครูจบการศึกษา และตัวแปรการศึกษาขั้นสูงสุดที่ครูสำเร็จการศึกษา มีอิทธิพลทางตรงกับตัวแปรวิธีการ สอนของครูอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีอิทธิพลเท่ากับ -0.169 และ -0.456 ตามลำดับ ตัวแปรคณะที่ครูจบการ ศึกษามีอิทธิพลเท่ากับ 0.489 ต่อตัวแปรแฝงความชัน หรือพัฒนาการของผู้เรียนในระดับระหว่างกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 นอกจากนี้ยังมีตัวแปรวิธีการสอนของครูที่มีอิทธิพลกับคะแนนในระดับตั้งต้นระดับระหว่างกลุ่ม (ตัวแปรแฝงระดับ ระหว่างกลุ่ม) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เท่ากับ 0.346 4. ตัวแปรเชาวน์ปัญญาของนักเรียนมีอิทธิพลทางตรงต่อคะแนนในระดับตั้งต้นระดับภายในกลุ่ม (ตัวแปรแฝงระดับ ภายในกลุ่ม) เท่ากับ 0.562 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop a multilevel latent growth curve model of English vocabulary achievement, to analyze, using SEM strategy, the goodness of fit of the developed model with an empirical data and to study the effects of teacher characteristics and student intelligent quotient on the development of English vocabulary achievement. The sample consisted of 365 Pratom Suksa 6 students and 11 teachers, randomly selected from 11 schools under the jurisdiction of Bangkok Metropolis. The research instruments were English vocabulary achievement test, J.C. Raven Standard Progressive Matrices and teacher characteristics recording form. Longitudinal data were collected for 4 time points and analyzed with SEM using EQS for windows 5.7b and SPSS for windows 9.01. The major findings were as follows 1 The student within group. rate of growth (the within-group slope variable) had statistically significant effects on the four measures of English vocabulary achievement variables. The effects were 0. 1. 1.372. 1.467 respectively. The student between group. rate of growth (the between-group slope variable) had statistically significant effects on the four measures of the extra latent, English vocabulary achievement variables. The effects were 0.1, 0.533, 1.454 respectively 2 The multilevel latent growth curve model of English vocabulary achievement fit to the empirical data. The validity of the model was indicated by X2 of 91.487 with 22 degree of freedom, p<.001, the goodness of fit index of 0.964, the adjusted goodness of fit index of 0.867. x2/df of 4.158 RMSEA of 0.078, NNFI of 0.927, and CFI of 0.965 3. The faculty from which the teacher graduate and the teacher highest education had statistically significant direct effects on teaching methods with the sign of -0.169 and 0.456 respectively. The faculty from which the teacher graduate had statistically significant effects on between slope or student growth with the sign of 0.489. In addition, the teaching method had statistically significant effects of 0.346 on the student between-group. starting score (the between-group intercept variable) 4. Student IQ variable had statistical significant direct effects of 0.562 on the student within-group. starting score (the within-group intercept variable)-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.237-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectการวิเคราะห์พหุระดับen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectAcademic achievementen_US
dc.subjectMultilevel analysisen_US
dc.subjectEnglish language -- Study and teaching (Elementary)en_US
dc.titleการศึกษาการเปลี่ยนแปลงระยะยาวของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนประถมศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร : การวิเคราะห์โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงแบบพหุระดับen_US
dc.title.alternativeA study of longitudinal change in English vocabulary achievement of elementary school students, Bangkok Metropolis : an analysis of multilevel latent variable growth curve modelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.237-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ancharee_si_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.04 MBAdobe PDFView/Open
Ancharee_si_ch1_p.pdfบทที่ 11.11 MBAdobe PDFView/Open
Ancharee_si_ch2_p.pdfบทที่ 22.11 MBAdobe PDFView/Open
Ancharee_si_ch3_p.pdfบทที่ 31.15 MBAdobe PDFView/Open
Ancharee_si_ch4_p.pdfบทที่ 42.7 MBAdobe PDFView/Open
Ancharee_si_ch5_p.pdfบทที่ 51.44 MBAdobe PDFView/Open
Ancharee_si_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.