Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.advisorศิวัช พงษ์เพียจันทร์-
dc.contributor.authorสุธาทิพย์ ไสยาตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-11-25T08:20:45Z-
dc.date.available2021-11-25T08:20:45Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77876-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาศักยภาพการก่อการกลายพันธุ์ของสารโพลีไซคลิกะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนจาก ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมโครเมตร (PM₁₀) จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษในเขตกรุงเทพมหานคร 4 สถานี บริเวณริมถนน 2 สถานี ได้แก่ สถานีการเคหะชุมชนดินแดง และสถานีการไฟฟ้าย่อยธนบุรี บริเวณชุมชน 2 สถานี ได้แก่ สถานีโรงเรียนบดินทรเดชา และสถานีการเคหะชุมชนคลองจั่น เก็บตัวอย่างฝุ่น PM₁₀ ในเดือนมีนาคม กรกฎาคม และพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2549-2552 นำตัวอย่าง มาสกัดด้วย Soxhlet extraction apparatus โดยใช้ Dichloromethane เป็นตัวทำละลาย พบว่าความเข้มข้นฝุ่น PM₁₀ มีค่าระหว่าง 0.019-0.145 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และนำสารสกัดไปวิเคราะห์สาร โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) โดยใช้โครมาโตรกราฟีชนิดของเหลวสมรรถะสูง (HPLC) พบ ว่าปริมาณ PAHs myh’s,f.o/6jo]tvv’,u8jkits;jk’ 111.5-2569.5 นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และพบว่า PAHs ที่มีความสามารถในการก่อการกลายพันธุ์ที่มีปรอมาณสูง ได้แก่ Dibenzo(a,h)anthracene และ Benzo(k)fluoranthene ซึ่งมีความสัมพันธ์กับดัชนีการก่อการกลายพันธุ์ในระดับปานกลางจนถึงน้อย นำสาร สกัดที่ได้ไปทอสอบการก่อการกลายพันธุ์ด้วยวิธี Ames test โดยทดสอบกับเชื้อ Salmonella typhimurium สายพันธุ์ TA98. TA100. DMST2069 และ ATCC13311 พบว่าสารสกัดตัวอย่างฝุ่นละอองของทุกสถานีไม่มีฤทธิ์ในการก่อการกลายพันธุ์ แต่ที่สถานีการเคหะชุมชนดินแดง มีค่าความเข้มข้นฝุ่น PM₁₀ ความเข้มข้น PAHs และดัชนีการก่อการกลายพันธุ์สูงกว่าสถานีอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ P<0.05 และการเปลี่ยนแปลงการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในช่วงปี พ.ศ. 2549-2552 ไม่มีผลต่อปริมาณฝุ่น PM₁₀ ปริมาณ PAHs และความสามารถในการก่อการกลายพันธุ์ของสาร PAHs ในแต่ละสถานี-
dc.description.abstractalternativeThe mutagenicity potential of Polycyclic Aromatic Hydrocarbons (PAHs) in particulate matter (PM₁₀) from 4 air quality monitoring stations of the Pollution Control Department (2 roadsude sites, including Dindang station and Thonburi Metropolitan Electricity Authority station and 2community sites, including Bodindecha School station and Klongchan station) were studied. The PM₁₀) samples were collected in March, July and November during 2006-2009. The PAHs extraction from PM₁₀ samples were done by using Soxhlet apparatus with dichloromethane as the solvent. The PM₁₀ concentration were in range of 0.019-0.145 mg/m³. All₁₀ samples were analyzed for PAHs using High Performance Liquid Chromatography (HPLC). The total PAHs concentrations were in range of 111.5-2569.5 ng/m³. Dibenzo(a,h) anthracene and Benzo(k)fluoranthene were dominants. But their mulagenicity index (MI) are moderate to low. Samples were tested for mutagenicity by Ames test using Salmonella typhimurium strains TA98, TA100, DMST2069 and ATCC13311. All samples showed no mutagenicity. At Dindang station PM₁₀ concentrations, total PAHs concentrations and mutagenicity index were significantly higher than other stations. Changing patterns of fuel consumption during 2006-2009 were not affecting to level of PM₁₀ level of PAHs and mutagenicity of PAHs in each station.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1820-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฝุ่นen_US
dc.subjectโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนen_US
dc.subjectDusten_US
dc.subjectPolycyclic Aromatic Hydrocarbonsen_US
dc.titleศักยภาพการก่อการกลายพันธุ์ของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนจากฝุ่นละอองในเขตกรุงเทพมหานครในช่วงปี พ.ศ.2549-2552en_US
dc.title.alternativeMutagenicity potential of polycyclic aromatic hydrocarbons from particulate matter in Bangkok during 2006-2009en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1820-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suthatip_sa_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.1 MBAdobe PDFView/Open
Suthatip_sa_ch1_p.pdfบทที่ 1685.03 kBAdobe PDFView/Open
Suthatip_sa_ch2_p.pdfบทที่ 22.43 MBAdobe PDFView/Open
Suthatip_sa_ch3_p.pdfบทที่ 31.47 MBAdobe PDFView/Open
Suthatip_sa_ch4_p.pdfบทที่ 43.32 MBAdobe PDFView/Open
Suthatip_sa_ch5_p.pdfบทที่ 5744.29 kBAdobe PDFView/Open
Suthatip_sa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.