Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77880
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันทัด จันทร์ประภาพ-
dc.contributor.authorพรนภัส วงศ์จินดา-
dc.contributor.authorจินตนา จินดาสมาธิ-
dc.contributor.authorสิริลักษณ์ แย้มกลีบ-
dc.contributor.otherคณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-11-26T08:57:51Z-
dc.date.available2021-11-26T08:57:51Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77880-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับยาโซเดียมวาลโปรเอทในเลือดกับการเกิดอาการ ไม่พึงประสงค์ในผู้ป่วยโรคทางจิตเวช โดยทำการเก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนของผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกที่มีผลระดับ ยาโซเดียมวาลโปรเอทในเลือดที่โรงพยาบาลศรีธัญญาตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2557 ถึง 30 กันยายน 2558 จำนวนทั้งสิ้น 233 ราย เป็นผู้ป่วยชาย 127 ราย (ร้อยละ 54.50) ผู้ป่วยหญิง 106 ราย (ร้อยละ 45.50) โดยมีอายุเฉลี่ย 39.37 ± 11.29 ปี จาก การศึกษาพบผู้ป่วยที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาโซเดียมวาลโปรเอททั้งสิ้น 36 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.45 ของ ผู้ป่วยที่มีระดับยาโซเดียมวาลโปรเอททั้งหมด โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้มากที่สุด คือ ง่วงนอน 11 ราย (ร้อยละ 4.72) รองลงมาคือ มึนงง 10 ราย (ร้อยละ 4.29) และภาวะกล้ามเนื้อเสียสหการ 9 ราย (ร้อยละ 3.86) เมื่อทำการวิเคราะห์ ทางสถิติพบว่าระดับยาในเลือดมีความสัมพันธ์กับอุบัติการณ์ของกรเกิดอาการไม่พึงประสงค์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) โดยพบอุบัติการณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์มากที่สุดที่ระดับยาโซเดียมวาลโปรเอทในเลือดมากกว่า 125 μg/mL มีผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทั้งสิ้น 15 ราย (ร้อยละ 6.44) รองลงมาคือที่ระดับยาโซเดียมวาลโปรเอทในเลือด อยู่ในช่วง 101-125 μg/mL มีผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทั้งสิ้น 12 ราย (ร้อยละ 5.15) และที่ระดับยาโซเดียมวาลโป รเอทในเลือดอยู่ในช่วง 50-100 μg/mL มีผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทั้งสิ้น 9 ราย (ร้อยละ 3.86) ส่วนในกลุ่มที่มีระดับ ยาโซเดียมวาลโปรเอทในเลือดน้อยกว่า 50 μg/mL ไม่พบผู้ป่วยที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์ของยา โดยวิธีการรักษาอาการไม่ พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น ได้แก่ การลดขนาดยา การหยุดยา การให้ยารักษาตามอาการen_US
dc.description.abstractalternativeThe project aims to investigate the relationship between serum sodium valproate concentration and adverse drug reactions (ADRs) by collecting medical records at Srithanya Hospital of 233 patients from 1 October 2014 to 30 September 2015. The patients are male 127 and female 106 patients with average ages 39.37 ± 11.29 years. It's has been found that 36 of 233 patients (15.45%) had adverse drug reactions (ADRs). The most common ADR found was somnolence occurring in 11 patients (4.72%) and stupor 10 patients (4.29%), ataxia 9 patients (3.86%) respectively. The result from statistical analysis shows that there is a statistical significant relationship between serum sodium valproate concentration and the incidence of ADRs (p < 0.001). In addition, patient who had sodium valproate concentration level > 125 μg/mL, 101-125 μg/mL and 50-100 μg/mL had ADR occurring in 15 patients (6.44%), 12 patients (5.15%) and 9 patients (3.86%) respectively whereas patient who had sodium valproate concentration level < 50 μg/mL had no ADR at all. For solving the ADR problem, measurements such as decrease the dose, stop treatment or symptomatic treatment had been taken.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรคจิต -- การรักษาด้วยยาen_US
dc.subjectPsychoses -- Chemotherapyen_US
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับยาโซเดียมวาโปรเอทในเลือดกับการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ในผู้ป่วยโรคทางจิตเวช ณ โรงพยาบาลศรีธัญญาen_US
dc.title.alternativeRelationship between serum sodium valproate concentration and adverse drug reactions in patients at Srithanya Hospitalen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.subject.keywordโซเดียมวาโปรเอทen_US
dc.subject.keywordผู้ป่วยโรคทางจิตเวชen_US
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pharm_SeniorProject_1.21_2558.pdfไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.