Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77917
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริวรรณ กิตติเนาวรัตน์ | - |
dc.contributor.author | ปรางศิริ มณีนวล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-11-30T08:10:26Z | - |
dc.date.available | 2021-11-30T08:10:26Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77917 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมเพื่อกำจัดสีย้อมรีแอกทีฟเรด 35 ของวัสดุดูดซับที่แตกต่างกัน 3 ชนิด คือ วัสดุดูดซับไคโตซาน และวัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไทเทเนียที่แตกต่างกันสองชนิด ซึ่งไทเทเนียที่ใช้ในการเตรียมวัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไทเทเนียได้มาจากวิธีโซลเจล และการใช้ผงไทเทเนียเชิงการค้า A100 จากผลของประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมของวัสดุดูดซับทั้งสามชนิด สรุปได้ว่า เม็ดวัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไทเทเนียที่ประกอบด้วยผงไทเทเนียเชิงการค้า มีประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมรีแอกทีฟได้มากที่สุดถึง 97% ซึ่งมากกว่าของเม็ดวัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไทเทเนียที่เตรียมได้จากวิธีโซลเจล ซึ่งจะมีประสิทธิภาพในการดูดซับสีย้อมรีแอกทีฟประมาณ 77% ทั้งนี้เพราะผงไทเทเนียเชิงการค้าที่ผสสมในวัสดุเชิงประกอบแสดงความเป็นผลึกแอนาเทสที่สูงกว่าผลึกแอนาเทสที่มีอยู่ในวัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไทเทเนีย ที่เตรียมจากวิธีโซลเจล ซึ่งความเป็นผลึกแอนาของไทเทเนียที่อยู่ในวัสดุเชิงประกอบช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมรีแอกทีฟให้กับวัสดุเชิงประกอบ ส่วนวัสดุดูดซับไคโตซานมีประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมได้มากกว่าถึง 95% เนื่องจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้าสถิตระหว่างไคโตซานและสีย้อมรีแอกทีฟ นอกจากนี้วัสดุดูดซับทั้ง 3 ประเภท มีประสิทธิภาพในการดูดซับสีย้อมซ้ำได้แต่มีประสิทธิภาพในการดูดซับสีย้อมช้ากว่าประ- สิทธิภาพการดูดซับสีย้อมครั้งแรกของวัสดุดูดซับทั้ง 3 ประเภท ผลการศึกษาไอโซเทิร์มการดูดซับสีย้อมรีแอกทีฟของวัสดุดูดซับทั้ง 3 ประเภท สรุปได้ว่า วัสดุดูดซับไคโตซาน และวัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไทเทเนียด้วยวิธีโซลเจล มีไอโซเทิร์มการดูดซับสีย้อมที่สอดคล้องทั้งกับสมการแบบแลงเมียร์และสมการแบบฟรุนดลิช ส่วนวัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไทเทเนียเชิงการค้า A100 มีไอโซเทิร์มการดูดซับสีย้อมที่สอดคล้องกับสมการแบบฟรุนดลิชมากกว่า | - |
dc.description.abstractalternative | This study was to investigate the dye adsorption ability for removal of the reactive red 35 dye of three different adsorbent beads consisting of pure chitosan and two different chitosan/titania composite beads. Titania used for preparing the chitosan/titania composite beads was obtained from the sol-gel method or from the commercial titania powder A100. According to the results of dye adsorption abilities of three different adsorbents, it could be concluded that the chitosan/titania composite beads containing commercial titania powder had the adsorption abilities for removal of the reactive red dye solution up to 97%, which was much better than that of the chitosan/titania composite beads containing titania obtained from the sol-gel method which had the adsorption abilities around 77%. This was because the commercial titania powder contained in the chitosan/titania composite beads showed higher content of crystalline anatase than that of titania obtained from the sol-gel method in the composite beads. The crystallinity of anatase enhanced the dye adsorption ability of the composite beads. Pure chitosan adsorbent showed a good dye adsorption ability up to 95% due to the electrostatic interactions between chitosan and the reactive red dye. It was also found that three different adsordent beads could be reused for the second time. However, the re-adsorption ability of each adsorbent bead was less than the first one. From the result of adsorption isotherms, it could be concluded that the adsorption isotherm of pure chitosan beads or chitosan/titania composite beads containing titania obtained from the sol-gel method followed both Langmuir and Freundlich models. While the adsorption isotherm of chitosan/titania composites beads containing commercial titania tended to follow Freundlich model. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1953 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | วัสดุเชิงประกอบ | en_US |
dc.subject | ไคโตแซน | en_US |
dc.subject | Composite materials | en_US |
dc.subject | Chitosan | en_US |
dc.title | การใช้วัสดุเชิงประกอบไคโตซาน/ไททาเนียเป็นตัวดูดซับสีย้อมรีแอกทีฟ | en_US |
dc.title.alternative | Utilization of chitosan/titania composites as reactive dye adsorbent | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.1953 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prangsiri_ma_front_p.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 1.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prangsiri_ma_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 703.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
Prangsiri_ma_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prangsiri_ma_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prangsiri_ma_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 4.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prangsiri_ma_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 687.37 kB | Adobe PDF | View/Open |
Prangsiri_ma_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.