Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78016
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัญชริดา อัครจรัลญา | - |
dc.contributor.advisor | ณัฐชนัญ ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ | - |
dc.contributor.advisor | ศุภจิตรา ชัชวาลย์ | - |
dc.contributor.author | ปาริชาติ มูลทองชุน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-20T09:59:51Z | - |
dc.date.available | 2022-01-20T09:59:51Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741419538 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78016 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | ถ่ายโอนยีนระบุรหัสเซอรีนแอซีทิลแทรนส์เฟอเรสชนิดพลาสติดไอโซฟอร์ม (SAT1) จาก Arabidopsis thaliana L. และยีนระบุรหัสซิสเตอีนซินเตสชนิดไซโตโซลิกไอโซฟอร์ม (rcs1) จากข้าว Oryza sativa L. เข้าสู่ผักบุ้ง (Ipomoea aquatica Forsk var. aqutica) โดยการใช้ Agrobacterium tumefaciens EHA 101 ที่มีรีคอมบิแนนท์พลาสมิด pBIH1-IG(SX)-SAT1-rcs1 จากใบเลี้ยงส่วนโคนพร้อมก้านใบ 4,175 ชิ้น ได้ต้นอ่อนที่งอกจากชิ้นส่วนของใบเลี้ยง 1,332 ต้น มีเพียง 2 ต้นที่สามารถทนต่อสารปฎิชีวนะไฮโกรมัยซิน 5 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร การตรวจสอบโดยวิธี PCR ยืนยันได้ว่า ผักบุ้งทั้ง 2 ต้นนี้มียีน SAT1 และ rcs1จริง เรียกผักบุ้ง 2 พันธุ์ที่ได้นี้ว่าผักบุ้งแปลงพันธุ์ Tr1 และ Tr2 แอกทิวิตีของเซอรีนแอซิทิลแทรนส์เฟอเรส และแอกทิวิตีของซิสเตอีนซินเตสในน้ำสกัดจากใบของผักบุ้งแปลงพันธุ์ Tr1 และ Tr2 สูงกว่าผักบุ้งพันธุ์เดิม 2.66, 2.89 เท่า และ 1.62, 1.79 เท่า ตามลำดับ ผักบุ้งแปลงพันธุ์ Tr1 และ Tr2 ทนต่อแคดเมียมได้มากกว่าผักบุ้งพันธุ์เดิม เมื่อเจริญ ในสภาวะที่มีแคดเมียมคลอไรด์เข้มข้น 200 ไมโครโมลาร์ ผักบุ้งแปลงพันธุ์ Tr1 และ Tr2 มีปริมาณกรดอะมิโนซีสเตอีน และกลูตาไธโอน สูงกว่าผักบุ้งพันธุ์เดิม 1.50, 1.46 เท่า และ 1.68, 1.50 เท่า ตามลำดับ และมีความสูงของลำต้นและความยาวของรากเพิ่มขึ้นมากกว่าผักบุ้งพันธุ์เดิม ผักบุ้งทุกพันธุ์สะสมแคดเมียมในรากมากกว่าในลำต้นและใบ แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างปริมาณแคดเมียมที่สะสมต่อกรัมน้ำหนักแห้งของผักบุ้งแปลงพันธุ์และผักบุ้งพันธุ์เดิม ดังนั้นกลไกการทนต่อแคดเมียมของผักบุ้งแปลงพันธุ์ที่ได้รับการถ่ายโอนยีน SAT1และ rcs1 ที่เพิ่มขึ้นน่าจะเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของการเติบโต | en_US |
dc.description.abstractalternative | Arabidopsis thaliana L. serine acetyltransferase gene, plastid isoform (SAT1), and Oryza sativa L. cysteine synthase gene, cytosolic isoform (rcs1), were transformed into Pakbung (Ipomoea aquatica Forsk var. aqutica) using Agrobacterium tumefaciens EHA101 harbouring recombinant plasmid pBIH1-IG(SX)-SAT1-rcs1.From 4,137 cotyledon explants, 1,332 regenerated shoots were obtained and only 2 shoots were tolerated to 5 ug/ml hygromycin. Confirmation for the existence of SAT1 and rcs1 genes in the genome of the two hygromycin resistant shoots, Tr1 and Tr2, was done by polymerase chain reaction. Serine acetlytransferase activity and cysteine synthase activity in leaf extract of the transformants, Tr1 and Tr2 were 2.66, 2.89 and 1.62, 1.72 times higher than those of wild type, respectively. The transformants were more tolerant to cadmium than the wild type. When grown in medium containing 200 µM cadmium chloride, the transformants (Tr1, Tr2) contained cysteine and glutathione 1.50, 1.46 and 1.68, 1.50 times higher than those of the wild type, respectively and their shoot height and root length were more than the wild type. Cadmium was accumulated in roots more than in shoots, but there was no significant difference of cadmium content per dry weight of the transformants and wild type. This suggests that cadmium tolerance mechanism of the transgenic Pakbung containing SAT1 and rcs1 gene resulted from the increase in growth. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1938 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ผักบุ้ง -- การปรับปรุงพันธุ์ | en_US |
dc.subject | Ipomoea aquatica | en_US |
dc.subject | Arabidopsis thaliana | en_US |
dc.subject | Oryza sativa L. | en_US |
dc.subject | Serine acetyltransferase gene | en_US |
dc.title | ความทนต่อแคดเมียมของผักบุ้ง Ipomoea aquatica Forsk var. aquatica แปลงพันธุ์ที่มียีนเซอรีนแอซีทิลแทรนส์เฟอเรสจาก Arabidopsis thaliana L. และ p ยีนซิสเตอีนซินเตสจากข้าวจ้าว Oryza sativa L. | en_US |
dc.title.alternative | Cadmium tolerance of transgenic Ipomoea aquatica Forsk var. aquatica harbouring Arabidopsis thaliana L. serine acetyltransferase gene gene and rice Oryza sativa L. cysteine synthase gene | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.1938 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
4772371423.pdf | วิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Fulltext) | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.