Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล กิตติศุภกร-
dc.contributor.authorสมัคร เกษมมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-01-27T08:27:45Z-
dc.date.available2022-01-27T08:27:45Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741758634-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78029-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการสร้างแบบจำลองกระบวนการและทำการออปติไมซ์ หน่วยการกลั่นความดันสูญญากาศสำหรับการผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานโดยใช้โปรแกรม PRO II เวอร์ชัน 7 เพื่อศึกษาผลกระทบของสภาวะการดำเนินงานของหน่วยกลั่นความดันสูญญากาศและตัวแปรต่างๆที่มี ต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากหน่วยกลั่นความดันสูญญากาศสำหรับการผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานและใช้แบบจำลองช่วยในการหาสภาวะการดำเนินงานของหน่วยการกลั่นความดันสูญญากาศ เพื่อให้ได้รับกำไรสูงสุด สภาวะการดำเนินงานที่ใช้ทำการศึกษาผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณผลิตภัณฑ์และผลกำไรของหน่วยกลั่นความดันสูญญากาศในงานวิจัยนี้ได้แก่ อุณหภูมิของสารป้อนก่อนเข้าหอกลั่นความดันสูญญากาศ อุณภูมิบนยอดหอกลั่นความดันสูญญากาศ อุณหภูมิตอนกลางของหอกลั่นความดันสูญญากาศ และปริมาณ Stripping steam ที่ใช้ที่หอกลั่นความดันสูญญากาศ พบว่าสภาวะการดำเนินงานที่แตกต่างกันทำให้ได้ปริมาณผลิตภัณฑ์และปริมาณการใช้ทรัพยากรต่างๆ กันออกไป และส่งผลทำให้ผลกำไรที่ได้ต่างกัน ผลการออปติไมซ์เพื่อหาสภาวะการดำเนินงานที่เหมาะสมสำหรับหน่วยการกลั่นความดันสูญญากาศพบว่าที่สภาวะการดำเนินงานหลังการทำออปติไมเซชันทำให้ผลกำไรที่ได้เพิ่มขึ้นจาก 7,440,000 บาทต่อวัน เป็น 7,780,000 บาทต่อวัน ซึ่งคิดเป็น 4.57% เมื่อเปรียบเทียบกับผลกำไรที่ได้จากสภาวะการดำเนินงานก่อนทำการออปติไมซ์en_US
dc.description.abstractalternativeIn this research the modeling of a vacuum distillation unit for Lube Base Oil Production has been developed based on Pro II (version 7) simulation software. The obtained model has been used to study the effect of operating conditions of the Vacuum Distillation unit involving the properties and quantities of products Then, with the model, an optimal operating condition has been determined to achieve a maximum profit with respect to the inlet temperature, the top tray temperature, the middle temperature and the stripping steam quantities Simulation results show that when the unit has been operated with the determined the optimal operating condition, the profit has been increased from 7,440,000 Baht per day to 7,780,000 Baht per day; the increase in the maximum profit of 4.57 % can be obtained.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1939-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำมันหล่อลื่นen_US
dc.subjectการกลั่นen_US
dc.subjectLubricating oilsen_US
dc.subjectDistillationen_US
dc.titleการสร้างแบบจำลองและการออปติไมซ์ของหน่วยการกลั่นความดันสูญญากาศสำหรับการผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานen_US
dc.title.alternativeModeling and optimization of vacuum distillation unit for lube base oil productionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1939-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
4571471121.pdfวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Fulltext)1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.