Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78058
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชุติมา สุรเศรษฐ | - |
dc.contributor.author | ประกอบ กรณีกิจ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-09T08:07:07Z | - |
dc.date.available | 2022-02-09T08:07:07Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78058 | - |
dc.description | สังคมมิติ -- การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติ -- การนำเสนอเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมัธยมศึกษา -- เว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมัธยมศึกษา และคู่มือการใช้งาน | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและความต้องการในการใช้งานเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติ 2) พัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติเพื่อใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน และ 3) ศึกษาผลการใช้ งานเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติที่ใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูและผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และกระทรวง อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยระยะที่ 1 เป็นการศึกษาสภาพและความต้องการในการใช้ งานเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติด้วยการสัมภาษณ์ครูจำนวน 8 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นของครู เกี่ยวกับสภาพ ความต้องการ วิธีการใช้งาน และรูปแบบเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติที่เหมาะสมสำหรับการใช้ งาน ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติ และให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่านประเมิน แล้วนำไปทดสอบ แบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็ก และแบบกลุ่มใหญ่ โดยเป็นการทดสอบการใช้งานกับครูรวม 3 คน และผู้เรียน รวม 34 คน โดยใช้แบบประเมินการออกแบบโครงสร้างของเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติและตัวอย่างหน้าจอ แบบประเมินเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมัธยมศึกษา และแบบสังเกตและ สัมภาษณ์การใช้งานเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติของครูและนักเรียน และระยะที่ 3 เป็นการศึกษาผลการใช้งานเว็บ แอปพลิเคชันสังคมมิติโดยการทดลองใช้ในกลุ่มใหญ่กับครู 6 คน และผู้เรียน 5 ห้องเรียน รวม 204 คน โดยใช้ แบบสังเกตและสัมภาษณ์การใช้งานเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติของครูและนักเรียน แบบสอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับการใช้งานเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติ และแบบประเมินการรับรู้ตนเองด้านการยอมรับทางสังคม การ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลเชิงคุณภาพ และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้การทดสอบที (t-test) ในการวิเคราะห์ความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ย วิเคราะห์แจกแจงความถี่แบบสองทางหรือการวิเคราะห์ตารางไขว้ (crosstabs) การทดสอบค่า ไค-สแควร์ .... | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study are 1) to investigate the current status of and needs for the use of sociometry web applications, 2) to develop a sociometry web application to examine the relationship among learners, and 3) to study the results of using the developed sociometry web application. The samples in this study were teachers and students in secondary schools under the Office of the Basic Education Commission (OBEC) and the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation (MHESRI). The first phase was a study of the current status of and needs for the use of sociometry web applications in which eight teachers were interviewed using an interview form to determine the teachers’ opinions toward the current status, needs, application, and appropriate design of sociometry web applications. In the second phase, a sociometry web application was developed and tested by three teachers and 34 students. An evaluation form was used to assess the design of the developed sociometry web application structure and wireframes. In the second phase, a sociometry web application had been developed and validated by 5 experts before undergoing one-to-one testing, small group testing and large group testing. The application was tested by three teachers and 34 students using an evaluation form to assess the design of the developed sociometry web application structure and wireframes. Another sociometry web application evaluation form was employed to examine the relationship among secondary school students. In addition, an observation and interview form was used to explore the use of the sociometry web application by the teachers and the students. The last phase was an implementation trial of the developed sociometry web application conducted with six teachers and 204 students from five classes. The observation and interview form and a survey form were used to collect opinions on the use of the sociometry web application from both teachers and students. In addition, a self-perception of the social acceptance evaluation form was also used in this phase. The data analysis methods used in this study were content analysis of the qualitative data and descriptive statistics, including frequency distributions, percentages, means, standard sociometric status according to the criteria. The results of the tests were used to improve the sociometry web application as well as the manual. | en_US |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดย เงินทุนเพื่อการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร์ ปี 2563 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ | en_US |
dc.subject | สังคมมิติ | en_US |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา | en_US |
dc.subject | Web applications | en_US |
dc.subject | Sociometry | en_US |
dc.subject | High school students | en_US |
dc.title | การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสังคมมิติเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมัธยมศึกษา : รายงานการวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | Development of Sociometry Web Application to study the Relationship Among Secondary School Learners | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chutima_Su_Res_2564.pdf | รายงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ | 10.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.