Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรเทพ ทองตั้ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-02-17T09:53:59Z-
dc.date.available2022-02-17T09:53:59Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78079-
dc.descriptionรูปแบบเอสเอสซีเอส -- การเรียนกลับด้าน -- สื่อสังคม -- การเรียนกลับด้านบนสื่อสังคม -- ความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์ก่อนและหลังการทดลองของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบเอสเอสซีเอสร่วมกับการเรียนกลับด้านบนสื่อสังคม และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์ระหว่างนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบเอสเอสซีเอสร่วมกับการเรียนกลับด้านบนสื่อสังคมกับนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชาฟิสิกส์แบบปกติ ตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม จำนวน 70 คน เครื่องมือวิจัยมี 3 ประเภท ได้แก่ (1) แบบสอบความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์ (2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบเอสเอสซีเอสร่วมกับการเรียนกลับด้านบนสื่อสังคม และ (3) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และสถิติทดสอบ (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบเอสเอสซีเอสร่วมกับการเรียนกลับด้านบนสื่อสังคมมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์หลังการทดลองเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, t(36) = 14.21, p< .001 2. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบเอสเอสซีเอสร่วมกับการเรียนกลับด้านบนสื่อสังคมมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์เฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในสาระฟิสิกส์แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, t(68) = 3.33, p=.001en_US
dc.description.abstractalternativeThis experimental research aimed to (1) compare pretest and posttest abil.ity to solve physics problems of students taught by SSCS model together with flipped [earning on sociat media method, and (2) compare abitity to sotve physics probtems among students taught by SSCS model together with flipped learning on social media method and traditional method. Participants were e[eventh grade students in Chutalongkorn university demonstration secondary schoot. fulateriats composed of physics probtem-solving tests, lesson plans for SSCS modet together with flipped learning on social media method, and lesson plans for traditiona[ method. Descriptive statistics and t-test were performed to ana[yze data. Research findings can be summarized as foltows 1. Students taught by SSCS model together with flipped learning on social media method had significantly higher posttest ability to solve physics problems than pretest, (36) = 14.21., p<.001. 2. Students taught by SSCS model together with flipped tearning on social media method had significantly higher ability to sotve physics probtems than those taught Physics by traditionaI method, (68) = 3.33, p = .001.en_US
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย เงินทุนเพื่อการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร์ ปี 2561en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน -- โปรแกรมกิจกรรมen_US
dc.subjectห้องเรียนกลับด้านen_US
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.titleผลของการใช้รูปแบบเอสเอสซีเอสร่วมกับการเรียนกลับด้านบนสื่อสังคมที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา : รายงานผลการวิจัยen_US
dc.title.alternativeEffect of using SSCS model together with flipped learning on social media on physics problems solving abilities of eleventh grade students in school under Office of the Higher Education Commissionen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Porntep_Th_Res_2563.pdfรายงานวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)10.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.