Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78083
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กนกวรรณ เสรีภาพ | - |
dc.contributor.advisor | พัชรา ลิมปนะเวช | - |
dc.contributor.author | ไพบูลย์ หมุ่ยมาศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-18T08:17:06Z | - |
dc.date.available | 2022-02-18T08:17:06Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78083 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en_US |
dc.description.abstract | การเปรียบเทียบผลการใช้ไคโตซาน O-80 ที่มีต่อการออกดอก คุณภาพของดอก และการหลุดร่วงของดอก ในกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ ‘ขาวสนาน’ และ ‘BOM 17 K’ โดยให้ไคโตซาน 10 ppm ร่วมกับปุ๋ยสูตร 20-20-20 หรือ 21-21-21 ปริมาณ 5 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร พ่นทุก 1 2 และ 4 สัปดาห์ เปรียบเทียบกับการใช้ปุ๋ยเพียงอย่างเดียว เป็นเวลา 1 ปี พบว่า กล้วยไม้พันธุ์ ‘ขาวสนาน’ ที่ปลูกแบบไม้กระถาง การพ่นไคโตซานทุก 2 สัปดาห์ มีแนวโน้มกระตุ้นการออกดอก ช่วยเพิ่มขนาดของดอกให้ใหญ่ขึ้น มีจำนวนช่อดอก/ต้น จำนวนดอกย่อย/ช่อเพิ่มขึ้น และทำให้ดอกย่อยบานครบทั้งช่อเร็วขึ้น ส่วนในกล้วยไม้พันธุ์ ‘BOM 17 K’ ที่ปลูกแบบไม้กระถาง การพ่นไคโตซานทุก 4 สัปดาห์ ช่วยเพิ่มจำนวนช่อดอก/ต้น และจำนวนดอกย่อย/ช่อ โดยแตกต่างจากชุดการทดลองอื่นๆอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่า การพ่นไคโตซานทุก 4 สัปดาห์ มีแนวโน้มช่วยเพิ่มความยาวช่อดอก ขนาดของดอกให้ใหญ่ขึ้น และกระตุ้นให้ดอกย่อยบานครบทั้งช่อเร็วขึ้น สำหรับกล้วยไม้พันธุ์ ‘ขาวสนาน’ ที่ปลูกในกระบะกาบมะพร้าว การพ่นไคโตซานทุก 1 สัปดาห์ ช่วยเพิ่มความยาวช่อดอก จำนวนช่อดอก/ต้น จำนวนดอกย่อย/ช่อ และชะลอการสังเคราะห์เอทิลีน โดยแตกต่างจากชุดการทดลองควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การพ่นไคโตซานทุก 2 สัปดาห์ สามารถชะลอการหลุดร่วงของดอกย่อยดอกแรกได้ การพ่นไคโตซานทุก 1 และ 4 สัปดาห์ สามารถชะลอการหลุดร่วงของดอกย่อย 50% โดยแตกต่างจากชุดการทดลองอื่นๆอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และการพ่นไคโตซานทุก 1 สัปดาห์ สามารถชะลออัตราการสังเคราะห์เอทิลีนออกไปได้อีก 10 วัน เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม โดยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนในกล้วยไม้พันธุ์ ‘BOM 17 K’ ที่ปลูกในกระบะกาบมะพร้าว การพ่นไคโตซานทุก 1 สัปดาห์ มีแนวโน้มการออกดอกให้เร็วขึ้น และชะลอการหลุดร่วงของดอกย่อยได้ การพ่นไคโตซานทุก 2 สัปดาห์ มีแนวโน้มช่วยเพิ่มขนาดของดอกให้ใหญ่ขึ้น มีจำนวนช่อดอก/ต้น และจำนวนดอกย่อย/ช่อเพิ่มขึ้น และการพ่นไคโตซานทุก 4 สัปดาห์ สามารถกระตุ้นแอกทิวิตีของเอนไซม์ ascorbate peroxidase ให้เพิ่มสูงขึ้นในวันที่ 5 โดยแตกต่างจากชุดการทดลองอื่นๆอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The comparison of potential effects of preharvest chitosan treatments on Dendrobium ‘SANAN WHITE’ and Dendrobium ‘BOM 17 K’ flowering, flower quality and floret abscission were investigated. Plants were sprayed with 10 ppm chitosan in combination with fertilizer formura (N-P-K) 20-20-20 or 21-21-21 5 g/1 L of water every 1, 2 and 4 weeks for one year compared with only fertilizer treated control. It was found that treatment with chitosan every 2 weeks tended to induce early flowering, promote floret opening and increase floret size, number of inflorescences and florets per plant in Dendrobium ‘SANAN WHITE’ pot plant. Dendrobium ‘BOM 17 K’ treated with chitosan every 4 weeks resulted in significant increases in number of inflorescences and florets per plant and this treatment also tended to increase inflorescence length, floret size and promote floret opening. Dendrobium ‘SANAN WHITE’ cut flower treated with chitosan every 1 week resulted in significant increases in inflorescence length, number of inflorescences and florets per plant and delayed ethylene production. Treatment with chitosan every 2 weeks tended to help retain petal color, prolong postharvest shelf life and induce activites of ascorbate peroxidase in Dendrobium ‘SANAN WHITE’ cut flower. In Dendrobium ‘BOM 17 K’ cut flower, treatments of chitosan at every interval can induce early flowering. Moreover, treatment with chitosan every 2 weeks tended to increase floret size, retain petal color and delay ethylene production, while treatment with chitosan every 1 week tended to prolong postharvest shelf life of Dendrobium ‘BOM 17 K’ cut flower by delaying the floret abscission. Treatment with chitosan every 4 weeks also induced ascorbate peroxidase enzyme activities in Dendrobium ‘BOM 17 K’ cut flower. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2242 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไคโตแซน | en_US |
dc.subject | หวาย (กล้วยไม้) | en_US |
dc.subject | หวาย (กล้วยไม้) -- ปุ๋ย | en_US |
dc.subject | Chitosan | en_US |
dc.subject | Dendrobium | en_US |
dc.subject | Dendrobium -- Fertilizers | en_US |
dc.title | ผลของไคโตซานที่มีต่อการออกดอกและคุณภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวาย Dendrobium 'ขาวสนาน' และ 'BOM 17 K' | en_US |
dc.title.alternative | Effects of chitosan on flowering and flower quality of Dendrobium 'Sanan white' and Dendrobium 'BOM 17 K' | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | พฤกษศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.2242 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
4872402323_2550.pdf | วิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Fulltext) | 946.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.