Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78090
Title: Synthesis of novel amphiphilic polymer-coated magnetite dispersion
Other Titles: การสังเคราะห์แมกนีไทด์ดิสเพอร์ชันที่เคลือบด้วยแอมฟิฟิลิกพอลิเมอร์ชนิดใหม่
Authors: Ong-art Thanetnit
Advisors: Supawan Tantayanon
Yu, William W.
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Subjects: Amphiphiles
Magnetite
Polymers
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Poly (N-(2-hydroxyethyl)maleimide-co-1-octadecene) and poly(maleic anhydride-co-1-octadecene) (PMAO) were synthesized by reversible additionfragmentation chain transfer (RAFT) polymerization using S-1-dodecyl-S′-(α,α′- dimethyl-α′′-acetic acid) trithiocarbonate and S-1-dodecyl-S′-(α,α′-dimethyl-α′′- methyl acetate) trithiocarbonate as RAFT transfer agents, respectively. PMAO was further modified at maleic anhydride moiety via ring opening followed by coupling reaction of the generated carboxylic acid with 2-(2-aminoethoxy)ethanol, to obtain the PMAO derivative. Monodispersed magnetite nanoparticles with different particle sizes, 11-32 nm, were prepared by thermal decomposition of iron(III) hydroxide oxide with various the oleic acid concentration. The formation of magnetite complex dispersion was generated by mixing the polymer solution and the 11 nm monodispersed magnetite solution, followed by adding water, and removing the organic solvent from the mixture. Whereas the resulting magnetite complex using PMAO derivative appeared as a clear solution, the precipitation was observed in case of using poly (N-(2-hydroxyethyl)maleimide-co-1-octadecene). In addition, the first solution was found to be the dispersion of nanoparticles with the average size of 13 nm as revealed by TEM. These results indicated that a novel amphiphilic polymercoated magnetite dispersion was successfully synthesized. All copolymers were characterized by ATR-IR, ¹H-NMR, ¹³C-NMR, GPC and TGA.
Other Abstract: พอลิเอ็นทูไฮดรอกซิเอทิลมาลิอิมายด์โควันออกทะเดซีน และพอลิมาเลอิกแอนไฮดรายด์ โควันออกทาเดซีน(พีเอ็มเอโอ) ถูกสังเคราะห์โดยรีเวอร์ซิเบิลแอดดิชันแฟลกเมนเทชันเชนทรานส- เฟอร์(แรฟต์)พอลิเมอไรเซชัน โดยใช้เอสวันโดเดซิลเอสพรายม์แอลฟาแอลฟาพรายม์ไดเมทิล แอลฟาดับเบิลพรายม์แอซีทิกแอซิดไทรไทโอคาร์บอเนต และเอสวันโดเดซิลเอสพรายม์แอลฟา แอลฟาพรายม์ไดเมทิลแอลฟาดับเบิลพรายม์เมทิลแอซีเทตไทรไทโอคาร์บอเนต เป็นสารถ่ายโอน แรฟต์ตามลำดับ พีเอ็มเอโอถูกดัดแปรที่หน่วยมาเลอิกแอนไฮดรายด์โดยการเปิดวงตามด้วย ปฏิกิริยาคัปลิงของคาร์บอซิลิกที่เกิดขึ้น กับทูทูแอมิโนเอทอกซีเอทานอล เพื่อได้อนุพันธ์ของ พีเอ็มเอโอ อนุภาคนาโนแมกนีไทต์โมโนดิสเพิร์สที่มีขนาดอนุภาคต่างๆ 11-32 นาโนเมตร ถูก เตรียมโดยการสลายด้วยความร้อนของไอร์ออน(III)ไฮดรอกไซด์ออกไซด์ ที่มีความเข้มข้นของ โอลิอิกแอซิดต่างๆ การเกิดแมกนีไทต์คอมเพล็กซ์ทำได้โดยการผสมสารละลายพอลิเมอร์และ สารละลายแมกนีไทต์โมโนดิสเพิร์สขนาด 11 นาโนเมตร ตามด้วยการเติมน้ำและการนำเอาตัวทำ ละลายอินทรีย์ออกจากของผสม ขณะที่แมกนีไทต์คอมเพล็กซ์ที่เตรียมได้จากอนุพันธ์พีเอ็มเอโอ พบว่าเป็นสารละลายใส แต่พบตะกอนเกิดขึ้นในกรณีที่ใช้พอลิเอ็นทูไฮดรอกซิเอทิลมาลิอิมายด์โค วันออกทะเดซีน นอกจากนี้สารละลายชนิดแรกเป็ นดิสเพิร์สของอนุภาคนาโนที่มีขนาดเฉลี่ย 13 นาโนเมตรซึ่งแสดงให้เห็นด้วยทีอีเอ็ม ผลงานเหล่านี้บ่งชี้ว่าสามารถสังเคราะห์แมกนีไทต์ ดิสเพอร์ชันที่เคลือบด้วยแอมฟิ ฟิ ลิกพอลิเมอร์ชนิดใหม่ได้สำเร็จ โคพอลิเมอร์ทั้งหมดถูกพิสูจน์ เอกลักษณ์โดย เอทีอาร์ไออาร์ โปรตอนเอ็นเอ็มอาร์ คาร์บอนสิบสามเอ็นเอ็มอาร์ จีพีซี และทีจีเอ ภาค
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2009
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78090
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2199
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.2199
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
4873866023_2009.pdfวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Fulltext)1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.