Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78134
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชณิตา ธรรมยงค์กิจ | - |
dc.contributor.author | พบชัย พานปรุ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-02T08:40:25Z | - |
dc.date.available | 2022-03-02T08:40:25Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78134 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาภาวะที่ใช้ในการพอลิเมอไรเซชันของไบไทโอฟีน และ พอร์ไฟริน-ไทโอฟีน โดยมีภาวะที่ใช้ในการสังเคราะห์ ได้แก่ ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี, ทางเคมีเชิงแสง และทางเคมีเชิงแสงที่มีไอโอดีน และทำการพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารผสมของปฏิกิริยาด้วยเทคนิคนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโทรสโกปีและแมสสเปกโทรเมทรี ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าภาวะที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี (เฟอร์ริก(III) คลอไรด์, สารละลายไอโอดีน และไอของไอโอดีน), การกระตุ้นด้วยแสงความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร, การกระตุ้นด้วยแสงความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร ในภาวะที่มีการเติมไอโอดีน ที่น่าจะสามารถทำให้เกิดการพอลิเมอไรเซชันของไทโอฟีนได้ โดยเมื่อนำภาวะดังกล่าวมาใช้กับพอร์ไฟรินเป้าหมาย ผลการวิเคราะห์ด้วยแมสสเปกโตรเมทรี ชี้ให้เห็นว่าภาวะที่มีการกระตุ้นด้วยแสงความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร สามารถทำให้พอร์ไฟรินเป้าหมายเกิดไดเมอร์ได้ ซึ่งผลจากการศึกษาดังกล่าวทำให้ได้แนวทางที่สาคัญต่อการปรับใช้เพื่อสังเคราะพอร์ไฟริน-ไทโอฟีนโคพอลิเมอร์ต่อไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aims to developing condition for polymerization of bithiophene and porphyrin-thiophene derivatives under chemically catalytic, and photochemical conditions with and without iodine. The reaction mixtures were characterized by neuclear magnetic resonance spectroscopy and mass spectrometry. The results indicated that the conditions possibly leading to the polymerization of bithiophene were the use of chemical catalysis (FeCl₃, iodine solution and iodine vapor), and photoexcitation by 254-nm light with and without iodine. When applying these conditions to the target porphyrin, the analysis by mass spectrometry showed that photoexcitation by 254-nm light resulted in the formation of its dimer. The result from this study provides the important guideline for using in the further preparation of the porphyrin-thiophene copolymer. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พอร์พัยริน | en_US |
dc.subject | โพลิไทโอฟีน | en_US |
dc.subject | Porphyrins | en_US |
dc.subject | Polythiophenes | en_US |
dc.title | การหาภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์พอลิไทโอฟีนเพื่อพัฒนาพอร์ไฟริน-ไทโอฟีนโคพอลิเมอร์ | en_US |
dc.title.alternative | Optimization of polythiophene synthesis for developing porphyrin-thiophene copolymer | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Popchai_Pa_Se_2558.pdf | 3.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.