Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78176
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิชาติ อิ่มยิ้ม | - |
dc.contributor.author | ชิดชนก โพธิ์ศรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-04T09:30:30Z | - |
dc.date.available | 2022-03-04T09:30:30Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78176 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ทำการเตรียมซิลิกาจากเถ้าแกลบ จากนั้นดัดแปรซิลิกาที่ได้ด้วยออกไซด์ของเหล็กและทองแดง เพื่อใช้เป็นตัวดูดซับอาร์ซีเนตในน้ำเสีย พิสูจน์เอกลักษณ์ซิลิกาจากเถ้าแกลบด้วยเทคนิค FTIR, SEM, TEM, XRD, XRF, PSD และ N2 adsorption ซิลิกาที่สังเคราะห์ได้จากเถ้าแกลบเป็นซิลิกาอสัณฐานมีความบริสุทธิ์สูงถึง 97% ขนาดอนุภาคของซิลิกามีค่าประมาณ 52 ไมโครเมตร ปริมาตรของโพรงเท่ากับ 0.323 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัม พื้นที่ผิวทั้งหมดคิดเป็น 671 ตารางเมตรต่อกรัม และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของโพรง 1.93 นาโนเมตร ซึ่งการ ดัดแปรซิลิกาที่เตรียมจากเถ้าแกลบทำได้โดยนำซิลิกาที่สังเคราะห์ได้มาตกตะกอนร่วมกับออกไซด์ของเหล็กและ ทองแดง และพิสูจน์เอกลักษณ์วัสดุที่ได้ด้วยเทคนิค SEM, EDS และ XRD สำหรับประสิทธิภาพในการกำจัดอาร์ซี เนตของตัวดูดซับที่สังเคราะห์ขึ้น พบว่าปริมาณอาร์ซีเนตสูงสุดที่ถูกดูดซับบนซิลิกาที่ผ่านการดัดแปรด้วยออกไซด์ ของเหล็กและทองแดงมีค่าเท่ากับ 9.3 มิลลิกรัมต่อกรัม โดยกระบวนการดูดซับเกิดได้ดีภายใต้สภาวะพีเอชเท่ากับ 3 และใช้เวลาในการเข้าสู่สมดุลการดูดซับประมาณ 24 ชั่วโมง การเข้าสู่สมดุลเป็นไปตามจลนพลศาสตร์การดูดซับ แบบอันดับสองเทียม และไอโซเทิร์มการดูดซับเป็นไปตามสมดุลการดูดซับของแบบจำลองฟรุนดลิช และสามารถ ใช้ซิลิกาที่ดัดแปรด้วยออกไซด์ของเหล็กและทองแดงในการกำจัดอาร์ซีเนตในน้ำเสียตัวอย่างจริง | en_US |
dc.description.abstractalternative | In the research, silica particles were prepared from rice husk ash and then they were modified with iron-copper oxides for arsenate adsorption in wastewater. The prepared silica was characterized by FTIR, SEM, TEM, XRD, XRF, PSD and N2 adsorption. The results exhibited that silica was amorphous and showed approximately 97% purity. Particles size of silica was about 52 μm. The surface area, pore volume, and pore diameters of silica are 671 m2/g, 0.323 cm3/g, and 1.93 nm, respectively. The modification of silica with iron-copper oxides was prepared by co-precipitation technique between silica and iron-copper oxides. The modified silica was characterized by SEM, EDS and XRD. For removal efficiency of arsenate by the modified adsorbent. The results exhibited that the maximum arsenate adsorption capacity is 9.3 mg/g at pH 3. The adsorption isotherm data gave better fit to the Freundlich model. Adsorption equilibrium time was 24 hours and kinetic data was fitted with pseudo-second-order kinetic model. Finally, the modified adsorbent was applied to remove arsenate from real wastewater samples with satisfactory results. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ซิลิกา | en_US |
dc.subject | เถ้าแกลบ | en_US |
dc.subject | Silica | en_US |
dc.subject | Rice hull ash | en_US |
dc.title | การดัดแปรผิวนาโนซิลิกาที่เตรียมจากเถ้าแกลบด้วยออกไซด์ของเหล็กและทองแดงสำหรับ สำหรับการดูดซับอาร์ซีเนต | en_US |
dc.title.alternative | Modification of silica nanoparticles from rice husk with iron-copper oxides for arsenate adsorption | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chidchanok Ph_Se_2559.pdf | 2.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.