Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิปกา สุขภิรมย์-
dc.contributor.advisorอภิชาติ อิ่มยิ้ม-
dc.contributor.authorนิศากร ตุลายกวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-09T01:51:38Z-
dc.date.available2022-03-09T01:51:38Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78201-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการแยกรูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกด้วยวิธีการตกตะกอนร่วมกับ สารประกอบเลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์ (layered double hydroxides, LDH) โดยใช้หลักการของ แรงระหว่างประจุระหว่างโครงสร้างที่เป็นชั้นประจุบวกของสารประกอบ LDH ที่สามารถจับกับแอน- ไอออนชนิดต่าง ๆ ได้ และสมบัติของอาร์เซเนตและอาร์เซไนต์แอนไอออนที่ปรากฏรูปที่ความเป็น กรดเบสต่างกัน การศึกษาเริ่มต้นจากการหาช่วงความเป็นกรดเบสที่สามารถเกิดสารประกอบ แมกนีเซียมอะลูมิเนียมเลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์ (Mg/Al LDH) แล้วตรวจสอบโครงสร้างของสาร โดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ พบว่าแมกนีเซียมและอะลูมิเนียมสามารถตกตะกอนร่วม เกิดเป็นสารประกอบ LDH ได้ที่ค่าความเป็นกรดเบสตั้งแต่ 7 ขึ้นไป แต่ที่ค่าความเป็นกรดเบสต่ำกว่า 7 จะได้สารประกอบที่มีลักษณะเป็นอสัณฐาน ต่อมาจึงศึกษาร้อยละการกำจัด (%RV) As(III) และ As(V) ด้วยการตกตะกอนร่วมทั้งหมด 3 ปัจจัย ได้แก่ ค่าความเป็นกรดเบส ชนิดของเกลือของโลหะ และเวลาของการตกตะกอนร่วม พบว่าภาวะที่สังเกตเห็นความแตกต่างของ %RV ระหว่าง As(III) และ As(V) คือ ที่ค่าความเป็นกรดเบสเท่ากับ 7 ใช้เกลือคลอไรด์ของโลหะ และเวลาในการตกตะกอน ร่วมเท่ากับ 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงตรวจสอบภาวะในการตกตะกอนของสารละลายผสม As(III) และ As(V) พบว่าไม่สามารถแยก As(III) และ As(V) ออกจากกันได้อย่างชัดเจนen_US
dc.description.abstractalternativeThe speciation of arsenic based on the coprecipitation with layered double hydroxides (LDH) was investigated. The idea was based on the coulombic interaction between the positive layers of LDH structure and anionic species, as As(III) and As(V) anions presenting at different pH. The study was divided into three steps. Firstly, using XRD for the characterization, the range of pH for the precipitation of Mg/Al LDH was found to be 7 or higher. The lower pH resulted to the amorphous phase. The next study was to find the precipitation condition including pH, the types of metal salts and reaction time, that could distinguish the removal percentage of As (III) and As(V). The largest difference of %RV was found using pH 7, metal chlorides, and 1 h. The last step was to test the conditions on the mixed solution of As(III) and As (V). It was found that the method was not effective to speciate the arsenic species.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารประกอบอาร์เซนิกen_US
dc.subjectไฮดรอกไซด์en_US
dc.subjectArsenic compoundsen_US
dc.subjectHydroxidesen_US
dc.titleการแยกสารประกอบอาร์เซนิกโดยวิธีตกตะกอนร่วมกับสารประกอบเลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์en_US
dc.title.alternativeSpeciation of arsenic by coprecipitation with layered double hydroxidesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nisakorn Tu_Se_2559.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.