Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราวุฒิ ตั้งพสุธาดล-
dc.contributor.authorเปรมสุภา เหลือพงค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-10T09:44:55Z-
dc.date.available2022-03-10T09:44:55Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78208-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractพอลิแล็กติกแอซิด (PLA) เป็นพอลิเมอร์ที่จัดอยู่ในกลุ่มของพอลิเอสเทอร์ ที่ถูกนำไปใช้ในทาง การแพทย์ วิธีหนึ่งในการปรับปรุงฤทธิ์ทางชีวภาพ คือการเคลือบผิวเส้นใยด้วยไฮดรอกซีแอปาไทต์ ([Ca₁₀(PO₄)₆(OH)₂]) ซึ่งเป็นผลึกแคลเซียมที่พบในกระดูก งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการเร่งการจับตัวของแคลเซียม ฟอสเฟสบนแผ่นอิเล็กโทรสปันไฟเบอร์ของ PLA ทางการค้า (มวลโมเลกุล 60,000 ดาลตัน) ขั้นตอนแรก สังเคราะห์ PLAdiCOOH ซึ่งเป็น PLA มวลโมเลกุลต่ำที่ปลายสองข้างของสายโซ่มีหมู่คาร์บอกซิลิกแอซิด แล้ว นำมาผสมกับ PLA ทางการค้าในอัตราส่วนต่างๆ หลังจากนั้นจึงนำพอลิเมอร์ผสม PLA/PLAdiCOOH มาขึ้น รูปเป็นเส้นใยด้วยเทคนิคอิเล็กโทรสปินนิง และนำไคโทซานมายึดติดกับไฟเบอร์โดยการใช้ และไม่ใช้ 1-เอทิล- 3-(3-ไดเมทิลแอมิโนโพรพิล) คาร์โบไดอิไมด์ (EDC) พบว่า การติดไคโทซานบนไฟเบอร์ด้วยพันธะแอไมด์ และ การเคลือบนั้นให้ผลลัพธ์ที่ไม่แตกต่างกัน ภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดพบว่า เมื่อมีไคโทซาน แล้วพื้นผิวของเส้นใยมีลักษณะหยาบขึ้น และหดลง การทดสอบการชักนำให้เกิดแคลเซียมบนพื้นผิวของเส้นใย และวิเคราะห์ด้วยเครื่อง ICP-OES พบว่า เมื่อใช้เวลาในการแช่เส้นใยนานถึง 7 วัน ปริมาณแคลเซียมไอออน ถูกดูดซับโดยเส้นใยมากขึ้นไปด้วย แต่ไม่พบผลึกเกลือแคลเซียมฟอสเฟตบนแผ่นเส้นใยen_US
dc.description.abstractalternativePoly(lactic acid) is a polyester that has been utilized in medical applications One method to improve bioactivity was reportedly coat the polymer fibers with hydroxyapatite ([Ca₁₀(PO₄)₆(OH)₂]), a type of calcium phosphate crystal found in bones. In this work, enhancing calcium phosphate mineralization on electrospun nanofiber mat of a commercialized PLA (Mn 60,000 Da) was studied. First, PLAdiCOOH which was a low molecular weight PLA having carboxylic groups on both chain ends was synthesized. Then various ratios of PLAdiCOOH were blended with the commercialized PLA and, subsequently, fabricated into non-woven fiber mats using electrospinning technique. In the next step, chitosan was introduced onto the fiber mats by using or not using 1-ethyl-3-(3-dimethylaminopropyl) carbodiimide (EDC). Both methods, in fact, offered similar results. From scanning electron microscope images, the presence of chitosan caused the fiber surface to be more rough and shrunken. The test of inducing calcium on the fiber surfaces by ICP-OES analysis showed that calcium ion adsorption by the fiber mat increased when the buffer soaking time increased to 7 days. No calcium phosphate crystal was, however, found on the fiber mats.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกรดโพลิแล็กติกen_US
dc.subjectการปั่นด้ายด้วยไฟฟ้าสถิตen_US
dc.subjectPolylactic aciden_US
dc.subjectElectrospinningen_US
dc.titleการเตรียมแผ่นอิเล็กโทรสปันไฟเบอร์จากคอนจูเกตของพอลิแล็กติกแอซิด-ไคโทซานen_US
dc.title.alternativePreparation of electrospun fiber mats from PLA-chitosan conjugatesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paemsupa Lo_Se_2559.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.