Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78243
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวรรณ พันธุมนาวิน-
dc.contributor.authorบุญนิชา บุญชุม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-15T02:16:04Z-
dc.date.available2022-03-15T02:16:04Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78243-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ ได้ทำการทดลองเตรียมเส้นใย PLA ที่บรรจุยาลีโวฟล็อกซาซินเพื่อศึกษา ปริมาณลีโวฟล็อกซาซินที่ถูกปลดปล่อยที่ระยะเวลาต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้า สถิตในการขึ้นรูปเส้นใย โดยเตรียม PLA ที่ 4 ความเข้มข้น แล้วบรรจุยาลีโวฟล็อกซาซิน 5 %w/w ของน้ำหนักยาต่อน้ำหนักพอลิเมอร์ โดยความเข้มข้นของ PLA ที่เหมาะสมในการขึ้นรูปคือ 12.0 %w/v ของปริมาณ PLA ต่อปริมาตรรวมสารละลาย จากนั้นได้นำเส้นใยศึกษาประสิทธิภาพของการ ปลดปล่อยยาลีโวฟล็อกซาซินของเส้นใย PLA ที่เตรียมได้ในตัวทำละลายที่ต่างกัน 3 ระบบ โดยใช้ UV-vis spectrophotometer ในการวัดปริมาณยาที่ถูกปลดปล่อย พบว่าลีโวฟล็อกซาซินถูก ปลดปล่อยในตัวทำละลายผสมระหว่างน้ำ MilliQ และเอทานอลอัตราส่วน 1 : 1 ได้ดีที่สุด ต่อมาจึง ทำการศึกษา reproducibility ของเส้นใย โดยการขึ้นรูปเส้นใยที่ความเข้มข้นของ PLA 12.0 %w/v จำนวน 6 ชุด พบว่าค่าการปลดปล่อยที่ได้ค่อนข้างมีความใกล้เคียงกันทุกชุดการทดลอง จากนั้นได้ นำเส้นใยไปที่ศึกษาอัตราการปลดปล่อยยาที่ระยะเวลาตั้งแต่ 5 – 120 นาที พบว่าลีโวฟล็อกซาซิน ถูกปลดปล่อยออกมาอย่างรวดเร็วและเข้าสู่สมดุลในช่วง 5 นาทีแรกen_US
dc.description.abstractalternativeIn this research PLA fibers was prepared and containing levofloxacin to study the amount of levofloxacin released at various intervals by using electrospinning process to prepare the fibers. PLA was prepared at 4 concentrations and levofloxacin was prepared at 5 %w/w of drug weight per polymer weight. The appropriate PLA concentration for molding was 12.0 %w/v of PLA weight per volume of total solution. The fiber was studied for the release of levofloxacin from PLA fibers prepared in 3 different solvents and used UV-vis spectrophotometer to measure the amount of drug released. Levofloxacin was liberated in the best 1: 1 mixture of MilliQ and ethanol. The reproducibility of the fibers by forming PLA at concentration of 12.0 %w/v with levofloxacin 5.00 %w/w 6 times. The result showed that the release values were quite similar to those of the experimental series. Then, the fibers were used to study the drug release rate at a rate of 5 to 120 minutes. Levofloxacin was rapidly released and equilibrated in the first 5 minutes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเส้นใยนาโนen_US
dc.subjectวัสดุโครงสร้างนาโนen_US
dc.subjectกรดโพลิแล็กติกen_US
dc.subjectPolylactic aciden_US
dc.subjectNanofibersen_US
dc.subjectNanostructured materialsen_US
dc.titleการเตรียมเส้นใยนาโนพอลิเมอร์ของพอลิแล็คติกแอซิดเพื่อใช้ในการปลดปล่อยยาen_US
dc.title.alternativePreparation nanopolymer of poly lactic acid for drug releaseen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonnicha Bo_SE_2560.pdf23.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.