Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัฒทรา ธีรพิบูลย์เดช-
dc.contributor.authorจักรทิพย์ ฉิมพาลี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-15T07:06:05Z-
dc.date.available2022-03-15T07:06:05Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78256-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการเตรียมแคปซูลอัลจิเนตที่ผสมกลีเซอรอลความเข้มข้นต่าง ๆ เพื่อศึกษา ความสามารถการเป็นพลาสติไซเซอร์ของกลีเซอรอลในแคปซูลอัลจิเนต พบว่ากลีเซอรอลความเข้มข้น 20% โดยปริมาตรต่อปริมาตร ให้ค่าประสิทธิภาพการเตรียมสูงที่สุด และที่ความเข้มข้นนี้ แคปซูลอัลจิเนต 1% และ 2% หลังอบมีขนาด 3.14 ± 0.04 และ 3.61 ± 0.25 มิลลิเมตร ตามลำดับ แคปซูลมีลักษณะเป็น ทรงกลม แต่ความหนาของเปลือกไม่สม่ำเสมอ ในการศึกษาการระเหยออกของสารที่บรรจุในแคปซูลอัลจิ เนต ได้เตรียมแคปซูลอัลจิเนตที่บรรจุน้ำมันมะกรูดและน้ำหอมกลิ่นยูคาลิปตัสทั้งที่ผสมและไม่ผสมกลีเซ อรอลและวางทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องและติดตามการระเหยออกของน้ำมัน ณ เวลา 0, 2, 4, 6, 8, 10, 15, 20, 25 และ 30 วัน พบว่า 10 วันแรกของแคปซูลน้ำมันมะกรูด กลีเซอรอลช่วยลดการระเหยออกของน้ำมันได้ ดี แต่หลังจากนั้นกลับช่วยให้น้ำมันระเหยได้ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีน้ำมันมะกรูดเหลืออยู่ในแคปซูล ส่วน ในแคปซูลน้ำหอมกลิ่นยูคาลิปตัส น้ำหอมจะระเหยออกไปอย่างรวดเร็วและระเหยออกหมดในเวลาไม่เกิน 30 วัน อาจเนื่องจากในน้ำหอมมีการผสมสารละลายอินทรีย์ซึ่งช่วยในการระเหยของน้ำมันอยู่ด้วย นอกจากนี้ ได้ศึกษาการแตกออกของแคปซูลในสารละลายเกลือ 4 ชนิด ได้แก่ โซเดียมคลอไรด์ โซเดียม ไฮโดรเจนคาร์บอเนต โพแทสเซียมคลอไรด์และไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต พบว่าโพแทสเซียมไอออนทำ ให้แคปซูลแตกได้เร็วกว่าโซเดียมไอออน และไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออนช่วยให้แคปซูลแตกได้เร็วกว่าแอน ไอออนอื่น ๆen_US
dc.description.abstractalternativeIn order to prepare alginate capsules, the different concentration of glycerol as plasticizer in alginate solution was studied. The result showed that 20% w/w of glycerol gave the best efficiency for capsule preparation. At this glycerol concentration, the size of dry capsule using 1 and 2% w/w of alginate was 3.14 ± 0.04 and 3.61 ± 0.25 mm, respectively. Although dry alginate capsule was spherical, the shell thickness was not consistency. Alginate capsules containing kaffir lime oil and eucalyptus fragrance with and without glycerol were prepared to investigate the release profiles at time interval of 0, 2, 4, 6, 8, 10, 15, 20, 25 and 30 days at room temperature. In the first 10 days of kaffir lime oil testing, glycerol prolonged the oil release, but after that it activated. However, there was some kaffir lime oil to be existent in capsule. In the case of eucalyptus fragrance, the fragrance released fast and vanished before 30 days. This might be fragrance contain mostly organic solvent which can evaporate rapidly. Moreover, the crack of alginate capsules in four types of salts, NaCl, NaHCO₃, KCl and Na₂HPO₄, was examined. The result showed the crack went faster in K+ than Na+ and anion HPO₄²- anion increased speed of break up more than others.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำมันหอมระเหยen_US
dc.subjectกลีเซอรีนen_US
dc.subjectอัลจิเนตen_US
dc.subjectEssences and essential oilsen_US
dc.subjectGlycerinen_US
dc.subjectAlginatesen_US
dc.titleการพัฒนาแคปซูลอัลจิเนตที่บรรจุน้ำมันมะกรูดen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Kaffir Lime Oil-loaded Alginate Capsulesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jakratip Ch_SE_2560.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.