Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78269
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สนอง เอกสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | มณิสร สุขสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-16T01:31:15Z | - |
dc.date.available | 2022-03-16T01:31:15Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78269 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | ซิลเวอร์อะซิเตทเป็นสารประกอบเงินที่ถูกนำไปประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นทางด้านผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ ใช้เคลือบพื้นผิว ใช้ทำหมึกเงินนำไฟฟ้า เป็นต้น โดยทั่วไปในการสังเคราะห์ซิลเวอร์อะซิเตท นิยมใช้ซิลเวอร์ไนเตรทเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ การได้มาซึ่งซิลเวอร์ไนเตรทนั้นก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ข้างเคียงเป็นไนโตรเจนออกไซด์ ซึ่งเป็นแก๊สพิษที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ในงานวิจัยนี้จึงพัฒนาวิธีการสังเคราะห์สารประกอบซิลเวอร์อะซิเตทโดยตรงจากโลหะเงินในสารละลายอินทรีย์ โดยใส่โลหะเงินลงในสารละลายผสมของเอทิลอะซิเตท กรดอะซิติก และ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ซิลเวอร์อะซิเตทจะตกผลึกออกมาบนพื้นผิวของเม็ดโลหะเงิน ศึกษาสัณฐานวิทยาของผลึกซิลเวอร์อะซิเตทด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด วิเคราะห์ผลึกซิลเวอร์อะซิเตทที่สังเคราะห์ได้ด้วยเทคนิครามานสเปกโทรสโคปี ฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโคปี และการวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ เพื่อยืนยันเอกลักษณ์ของซิลเวอร์อะซิเตทที่สังเคราะห์ได้ กรรมวิธีที่พัฒนาขึ้นเป็นวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน มีประสิทธิภาพ ไม่มีการสูญเสียสารเคมี และสามารถสังเคราะห์ได้ในขั้นตอนเดียวโดยไม่เกิดผลิตภัณฑ์ข้างเคียงที่เป็นพิษ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Silver acetate (AcOAg) was employed as a raw material in many applications such as health products, medical devices, silver coatings and conductive silver inks. In general, silver nitrate (AgNO₃) is a precursor for synthesizing AcOAg. However, the production of AgNO₃ produces nitrogen oxide (NOx), a family of toxic gases that severely affect the environment and human health. In this research, we prepared flower-like AcOAg directly from silver metal in organic solvents. By immersing ~2 mm silver metal in a solution containing ethyl acetate (AcOEt), acetic acid (AcOH), and hydrogen peroxide (H₂O₂). The silver metals were formed into AcOAg within 24 h. AcOAg crystals slowly develop and assemble into bundles around the silver metal. The morphology of the AcOAg was investigated by optical microscope and scanning electron microscope. Characterization of synthesized AcOAg by Raman Spectroscopy, Fourier transform infrared spectroscopy and X-Ray diffraction spectroscopy was carried out. The developed process is environmental friendly, energy efficient, one-pot, simple while emitting no chemical waste or toxic by-products. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไอออนเงิน | en_US |
dc.subject | สารประกอบเงิน | en_US |
dc.subject | Silver ions | en_US |
dc.subject | Silver compounds | en_US |
dc.title | สัณฐานวิทยาของผลึกซิลเวอร์อะซิเตทซึ่งสังเคราะห์จากโลหะเงินโดยตรง | en_US |
dc.title.alternative | Morphology of silver acetate crystal directly synthesized from silver metal | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Manisorn Su_SE_2560.pdf | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.