Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78278
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พุทธรักษา วรานุศุภากุล | - |
dc.contributor.author | นิโลบล ทองดอนแอ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-16T02:53:40Z | - |
dc.date.available | 2022-03-16T02:53:40Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78278 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | กรดอินทรีย์มีการใช้เป็นสารกันบูดในอาหาร โดยกรดอินทรีย์ที่นิยมใช้ ได้แก่ กรดเบนโซอิก กรดซอร์ บิก และ กรดโพรพิโอนิก อย่างไรก็ตามปริมาณสารกันบูดในอาหารมีปริมาณมากเกินระดับที่กำหนดให้ใช้จะ เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงศึกษาการวิเคราะห์หาปริมาณกรดอินทรีย์ทั้ง 3 ชนิดนี้ โดยการสกัดระดับจุลภาคด้วยวัฏภาคของแข็งแบบเฮดสเปส (HS-SPME) และรวมกับเทคนิคไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิด โครมาโทกราฟี จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการสกัดด้วยเทคนิค HS-SPME ได้แก่ ชนิดของ ไฟเบอร์ SPME อุณหภูมิ เวลาในการสกัดและการเติมเกลือ พบว่าประสิทธิภาพในการสกัดดีที่สุดเมื่อใช้ไฟ เบอร์ SPME ชนิด CAR/PDMS (เคลือบหนา 85 ไมโครเมตร) อุณหภูมิในการสกัด 50 องศาเซลเซียส เวลาใน การสกัด 40 นาที และการเติมเกลือโซเดียมซัลเฟตแอนไฮดรัส 4 กรัม แต่พบว่าสามารถวิเคราะห์ปริมาณกรด อินทรีย์ได้เพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือกรดเบนโซอิกและกรดซอร์บิก | en_US |
dc.description.abstractalternative | Organic acids are generally used as preservatives in food. The common organic acid preservatives are benzoic acid, sorbic acid and propionic acid. However, the amount of preservatives in food larger than the limited level can be harmful to consumers. Therefore, the determination of these organic acid preservatives was studied by using headspace solid phase microextraction (HS-SPME) combined with high performance liquid chromatography. The HS-SPME parameters which are types of SPME fiber, extraction temperature, extraction time and addition of salt were optimized. The maximum extraction efficiency was obtained when using SPME fiber coated with 85 micrometers CAR/PDMS, extraction temperature of 50°C, 40 min of extraction time and additional of 4 grams of sodium sulfate anhydrous. However, only two organic acids which are benzoic acid and sorbic acid can be analyzed. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | วัตถุกันเสีย | en_US |
dc.subject | ลิควิดโครมาโตกราฟี | en_US |
dc.subject | ไฮเปอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโตกราฟี | en_US |
dc.subject | Liquid chromatography | en_US |
dc.subject | High performance liquid chromatography | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ปริมาณสารกันบูดในเครื่องดื่มโดยการสกัดระดับจุลภาคด้วยวัฏภาคของแข็งและเทคนิคไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี | en_US |
dc.title.alternative | Determination of Preservatives in Beverages using Solid-Phase Microextraction and High Performance Liquid Chromatography | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Puttaruksa.W@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NilobonTh_SE_2560.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.