Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78286
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพฑูรย์ รัชตะสาคร | - |
dc.contributor.author | กฤษรา ศรีมานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-16T07:22:30Z | - |
dc.date.available | 2022-03-16T07:22:30Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78286 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | อนุพันธ์ของแนพธาลิไมด์ 2 ชนิด ได้ถูกออกแบบและสังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้เป็นฟลูออเรสเซนต์ เซ็นเซอร์สำหรับไฮดราซีน สารทั้งสองมีหมู่ไดไซยาโนไวนิลที่สามารถเกิดปฏิกิริยากับไฮดราซีนได้อย่าง จำเพาะ สารทั้งสองมีความแตกต่างกันตรงส่วนเชื่อมต่อระหว่างหมู่ไดไซนาโนไวนิลฟีนิล สารที่ถูกออกแบบ ให้มีหมู่เอไธนิลเป็นส่วนเชื่อมต่อไม่สามารถถูกสังเคราะห์ได้เนื่องจากการสลายตัวภายใต้กระบวนการทำให้ บริสุทธิ์บนซิลิกาเจล สารที่มีการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างแนพธาลิไมด์ และไดไซยาโนไวนิลฟีนิล นั้นสามารถ สังเคราะห์ได้ในร้อยละผลได้เท่ากับ 30 สารดังกล่าวมีค่าการดูดกลืนแสงสูงสุด 354 นาโนเมตร ค่าความยาว คลื่นของการคายพลังงานสูงสุด 434 นาโนเมตร การทดสอบเบื้องต้นโดยใช้สารละลายของสารนี้ที่ 1 มิลลิโมลาร์ พบว่าสัญญาณการเรืองแสงถูกดับลงด้วยไฮดราซีน แต่ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนกับ เอมีนชนิดต่าง ๆ ผลการทดสอบด้วยเครื่องฟลูออโรมิเตอร์ยืนยันว่าสัญญาณการเรืองแสงของสารนี้ที่ 1 มิลลิโมลาร์ สามารถถูกระงับไปได้ 5 เท่า เมื่อมีการเติมไฮดราซีนจานวน 1.6 สมมูล | en_US |
dc.description.abstractalternative | Two derivertives of napthlimide are designed and synthesized as fluorescence sensor for hydrazine. Both compounds contain a dicyanovinyl group which is known for its selective reaction with hydrazine. The difference between these two compounds is the linker unit between naphthalimide and dicyanovinyl phenyl groups. The compound with an ethynyl linkage cannot be achived due to a decomposition under purification process on silica gel. The compound which has a direct connection between the two units can be produced in 30% overall yield after two consecutive steps. Thi compound shows a maximum absorption and emission wavelength at 354 and 434 nm respectively. A preliminary screening using a 1 mM solution of this sensor reveals a selective fluorescene quenching by hydrazine, contrary to the addition of other amines. The experiment on fluorometer also confirms that the fluorescene signal of this compound at 100 μm can be quenched 5 folds by hydrazine 1.6 eq (molar) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไฮดราซีน | en_US |
dc.subject | Hydrazine | en_US |
dc.title | ฟลูออเรสเซนต์เซนเซอร์สำหรับไฮดราซีนจากอนุพันธ์เอ็น-ฟีนิล-1,8-แนพธาลิไมด์ | en_US |
dc.title.alternative | Fluorescence sensors for hydrazine from N-phenyl-1,8-naphthalimide derivatives | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Krisara Sr_SE_2560.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.