Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78301
Title: ผลกระทบของเขม่าดำต่อเสถียรภาพในการผลิตยางคอมพาวด์
Other Titles: Effect of carbon black on production stability of rubber compound
Authors: วริษฐา ศักดิ์สิทธิ์พรชัย
Advisors: ยงศักดิ์ ศรีธนาอนันต์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ยาง -- การผลิต
เขม่าดำ
Rubber
Carbon-black
Issue Date: 2562
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาความสัมพันธ์ของสมบัติของเขม่าดำที่มีผลต่อสมบัติของยางคอมพาวด์จากการผลิต เช่นมอดูลัส การสูญเสียพลังงาน เวลาในการเกิดวัลคาไนซ์ของยาง เขม่าดำแบ่งได้หลายเกรด ในงานวิจัยนี้จะศึกษาเขม่าดำเกรด N234 และ N550 ซึ่งมีโครงสร้าง ขนาด และพื้นที่ผิวในการเกิดปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน โดยจะใช้เทคนิคการวัดค่าการดูดซับของน้ำมันบนพื้นที่ผิวเขม่าดำเป็นวิธีหลักการติดตามและบ่งบอกถึงโครงสร้าง และพื้นที่ผิวในการเกิดปฏิกิริยา โดยพบว่าเขม่าดำไม่มีผลอย่างชัดเจนต่อการผลิตยางคอมพาวด์ในช่วงเวลาที่ศึกษา การสอบทวนกลับข้อมูลเขม่าดำในสายการผลิตทำให้ได้ค่าขอบเขตเตือนของการดูดซับน้ำมันของเขม่าดำเกรด N550 ที่ 115 และ 123 มิลลิลิตรต่อเขม่าดำ 100 กรัม และการผลิตยางคอมพาวด์ที่มีการควบคุมเขม่าดำ พบว่าเขม่าดำเกรด N234 มีค่าการดูดซับน้ำมันที่แปรผันตรงกับมอดูลัสของยางคอมพาวด์ แต่ผกผันกับการสูญเสียพลังงานและเวลาในการเกิดวัลคาไนซ์ ในขณะที่เขม่าดำเกรด N550 แสดงให้เห็นว่าค่าการดูดซับน้ำมันจะแปรผันตรงกับทั้งมอดูลัสและการสูญเสียพลังงานของยางคอมพาวด์
Other Abstract: This study attempted to correlate the effect of carbon black properties on rubber compound properties from production (e.g. modulus, hysteresis, curing time). Carbon black can be divided into various grades. This project focused on carbon black grades N234 and N550 which have different structures, sizes and reactive surfaces. The technique of measuring oil absorption number on carbon black surface was the main method to access its and reactive surface. Under the time period of this study, no obvious trend of effect of carbon black on rubber compound properties production was found. The traceability study of carbon black used in production could yield the alert specification of oil absorption number of grade N550 carbon black at 115 and 123 mL/100g. When the carbon black was specifically controlled in the production, the oil absorption numbers of N234 carbon black were found to correlate directly to modulus of the rubber compound, while reversely to hysteresis and curing time. However, N550 carbon black showed direct correlations of oil absorption number with modulus and hysteresis of rubber compound.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78301
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-CHEM-010 - Warittha Sak.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.