Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorมณิสรา สุขปลั่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-04-20T08:40:59Z-
dc.date.available2022-04-20T08:40:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78415-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractจังหวัดระยองตั้งอยู่ภาคตะวันออกของประเทศไทย ติดกับอ่าวไทย โดยเป็นจังหวัดมีการเติบโตของนิคมอุตสาหกรรม และมีประชากรอาศัยอย่างหนาแน่น ทำให้มีแนวโน้มการใช้ทรัพยากรน้ำมากขึ้น ดังนั้นแหล่งน้ำใต้ดินจึงมีบทบาทสำคัญและนำมาใช้ประโยชน์หลายทศวรรษ นำไปสู่การรุกล้ำของน้ำทะเลในแอ่งน้ำบาดาล การศึกษานี้จึงวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรุกล้ำของน้ำทะเลทั้งหมด 4 ช่วงเวลา ได้แก่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 เดือนมกราคม พ.ศ. 2555 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 และเดือนมกราคม พ.ศ. 2561 โดยใช้ลักษณะทางอุกเคมีของน้ำบาดาลโดยใช้แผนภาพ Hydrochemical Facies Evolution Diagram (HFE-D) ตรวจสอบว่าเป็นน้ำจืดหรือน้ำเค็ม, ศึกษาอัตราส่วนของ Na/Cl เพื่อประเมินแหล่งที่มาของน้ำเค็มว่ามาจากน้ำทะเลหรือกิจกรรมของมนุษย์, สร้างความสัมพันธ์ของ Cl/HCO₃ และ Base Exchange Indices (BEX) เพื่อประเมินและระบุระดับความรุนแรงของการปนเปื้อนน้ำเค็มในน้ำบาดาล โดยประเมินจากความเข้มข้นไอออนสำคัญ ได้แก่ โซเดียม (Na⁺) แคลเซียม (Ca²⁺) โพแทสเซียม (K⁺) แมกนีเซียม (Mg²⁺) คลอไรด์ (Cl-) ไบคาร์บอเนต (HCo₃-) ไนเตรต (NO₃-) และซัลเฟต (SO4²-) จากการศึกษาทั้งหมดแสดงผลว่า แอ่งน้ำบาดาลระยองเกิดการรุกล้ำของน้ำทะเลไปยังชั้นน้ำบาลหินร่วนและชั้นน้ำบาดาลหินแข็ง โดยมีสาเหตุทั้งจากน้ำทะเลและกิจกรรมของมนุษย์ ชั้นน้ำบาลหินร่วนเกิดการรุกล้ำของน้ำทะเลในอำเภอเมืองระยองมากที่สุด ส่วนชั้นน้ำบาดาลหินแข็งเกิดการรุกล้ำทั้งอำเภอเมืองระยองและอำเภอบ้านฉาง จากข้อมูลที่ศึกษาในปี พ.ศ. 2554 – พ.ศ. 2561 ระยะทางที่น้ำทะเลรุกล้ำเข้าไปในชั้นน้ำบาดาลหินร่วนและหินแข็งอยู่ในช่วง 8.9 – 11.0 กิโลเมตร และ 5.5-7.6 กิโลเมตร ตามลำดับ ความสัมพันธ์ผลของการศึกษาของ Cl/HCO3 และ Base Exchange Indices (BEX) พบว่า การปนเปื้อนของน้ำทะเลอยู่ในระดับรุนแรง ในขณะที่การปนเปื้อนที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ พบอยู่บริเวณตอนเหนือและกลางของพื้นที่การศึกษา กล่าวโดยสรุปพบว่าการศึกษาด้วยวิธีการ HFE-D Cl/HCO₃ และ BEX ควรนำมาวิเคราะห์ผลร่วมกันเพื่อให้ได้ผลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดen_US
dc.description.abstractalternativeRayong Province is located in the eastern region of Thailand and adjacent to the Gulf of Thailand. Since the growth of industrial sector and densely population, including agricultural lands, resulting in the increase of water resources. This is why the groundwater resource plays an important role and has been extracted intensively in recent decade, , leading to sea water intrusion in the aquifers. Therefore, the objective of this study is to evaluate sea water intrusion using hydrochemical characteristics in 4 periods as follows: August 2011, January 2012, August 2017 and January 2018. Groundwater was characterized as freshwater or saltwater by Hydrochemical Facies Evolution Diagram (HFE-D), Na/Cl ratio, relationship between Cl/HCO₃ v.s. Cl and Base Exchange Indices (BEX), which used the concentration of major ions such as sodium (Na⁺), calcium (Ca²⁺), potassium (K⁺), magnesium (Mg²⁺), chloride (Cl-), bicarbonate (HCO₃-), nitrate (NO₃-) and sulphate (SO₄²-). The relationship between Cl/HCO₃ and BEX to assess the level of saltwater contamination in groundwater. The Na/Cl ratio was carried out to assess the sources of saltwater which comes from either sea water or anthropogenic activities. Base on the results of HFE-D and Cl/HCO₃ ratio, they showed that Rayong groundwater basin has been intruded by sea water in both the unconsolidated aquifer and granitic aquifer. Sea water intrudes into the unconsolidated aquifer most in Mueang Rayong district, and into granitic aquifer in Mueang Rayong and Ban Chang district. Base on observation data from 2011 to 2018, seawater intruded into unconsolidated aquifer and granitic aquifer in the range of 8.9 – 11.0 kilometers and 5.5 – 7.6 kilometers, respectively. The result of Cl/HCO3 ratio and BEX can be used to identify highly contaminated area of seawater intrusion. Groundwater contamination caused by human activities can be fond at the north and central parts of study area can be indicated clearly by Na/Cl ratio. In conclusion, the method HFE-D, Cl/HCO₃ and BEX can be together employed to assess swawater intrusion effectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำใต้ดินen_US
dc.subjectน้ำบาดาล -- ไทย -- ระยองen_US
dc.subjectน้ำทะเลen_US
dc.subjectGroundwater -- Thailand -- Rayongen_US
dc.subjectSeawateren_US
dc.titleการประเมินการรุกล้ำของน้ำทะเลโดยใช้ลักษณะเฉพาะทางอุทกเคมีในแอ่งน้ำบาดาลระยองen_US
dc.title.alternativeEvaluation of sea water intrusion using hydrochemical characteristics in rayong groundwater basinen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-GEO-021 - Manisara Sukplang.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.