Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.authorรุ่งโรจน์ สุนทรภักดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-04-21T04:50:31Z-
dc.date.available2022-04-21T04:50:31Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78437-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractจังหวัดอุทัยธานี เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพทางด้านแหล่งอุตสาหกรรมแร่อย่างมากมาย ซึ่งหนึ่งในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ในจังหวัดอุทัยธานีคือ “อุตสาหกรรมแร่ดินขาว” ซึ่งเป็นจุดศึกษาของงานวิจัยในครั้งนี้อยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับธรณีวิทยาโครงสร้างโดยหินเคลย์ในจุดศึกษาเกิดการบีบอัดของแรงทำให้เกิดชั้นหินคดโค้ง เป็นให้เกิดรอยแตกและเกิดการแทรกดันของแร่ควอตซ์ทำให้เกิดการแปรสภาพเล็กน้อยโดยที่แร่ควอตซ์ได้เข้าไปเชื่อมประสานระหว่างเม็ดตะกอนในหินเคลย์และบางส่วนได้ผุผังโดยสีผุมีลักษณะที่เป็นสีขาวทำให้เรียกว่าแร่ดินขาว โดยลักษณะที่กล่าวมาทั้งหมดสามารถสันนิฐานว่าเกิดจากอิทธิพลของรอยเลื่อน แม่ปิง รอยเลื่อน ศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ที่วางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ มีแรงบีบอัดในช่วงการเกิดเทือกเขาอินโดจีนในยุคเพอร์โม-ไทรแอสซิก โดยโครงการนี้จะ มุ่งเน้นการศึกษาลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้าง รวมถึงความสัมพันธ์ วิวัฒนาการ และกลไกการเกิดธรณีวิทยาโครงสร้างของเหมืองเคลย์ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ทั้งในระดับมัชฌิมภาคและระดับจุลภาคต่อไป จากการศึกษาระดับมัชฌิมภาคและระดับจุลภาค เพื่อหาหลักฐานจากค่าชั้นหินคดโง การวางตัวรอยเลื่อน ชุดของแนวแตก และโครงสร้างแนวเส้นพบว่าชั้นหินคดโค้งมีทิศทางของแกนชั้นหินคดโค้งวางตัวในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะแบบแตกเปราะอีกทั้งยังหลักฐานของรอยเลื่อนมุมย้อนที่ตัดผ่านชั้นหินคดโค้งและทั้งยังพบมีลักษณะที่บ่งบอกได้อีกคือชุดของแนวแตกทั้ง 4 แนวที่ศึกษาได้จากการวัดค่าจากภาคสนามและศึกษาผ่านแผ่นหินบาง โดยวิวัฒนาการธรณี แปรสัณฐานและธรณีวิทยาโครงสร้างของเหมืองเคลย์ เกิดขึ้นในยุคไทรแอสซิก ซึ่งเป็นผลมาจากการชนกันระหว่างแผ่นจุลทวีปฉาน-ไทยและแผ่นจุลทวีปอินโดจีนทำให้เกิดความเค้นหลักค่ามากสุดในประมาณทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้เป็นผล ทำให้เกิดชั้นหินคดโค้งแบบเลื่อนไถลที่เกิดร่วมกับแรงเฉือนเฉพาะระดับท้องถิ่นในบริเวณพื้นที่ศึกษาพร้อมกับการแปรสภาพเล็กน้อยและการเกิดโครงสร้างทางธรณีวิทยาอื่นๆen_US
dc.description.abstractalternativeUthai Thani Province Is an area that has the potential to source many mineral industries Which one of the mining industry in Uthai Thani province is "The kaolin industry" which is the study point of this research is on the southeast side of Ban Rai District Uthai Thani Province Which is related to the geological structure by the clay stone in the study point, the compression of the force causes the curving layers to cause cracks and the insertion of quartz minerals causing slight transformation The quartz ore has been bonded between the granular sediments in the clay rock and some have decayed. The decay color is white, which is called kaolin. All of the above characteristics can be assumed to be caused by the influence of Mae Ping fault, Sri Sawat fault, three pagoda faults. Resting in the north-south-east direction There was compression during the Indochina mountains during the Thermo-Triassic period. This project will focus on the study of structural geology. Including the relationship, evolution and mechanism of geological structure of Clay Mine in the southeast of Ban Rai District Uthai Thani Province Both at the mesoscopic level and the microscopic level From the mesoscopic and microscopic level studies To find evidence from folding The formation of faults and sets of joint show that the curving layers have the direction of the fold axis in the north-south-east, with changes in fragmented characteristics and evidence. Of the reverse angle fault that cuts through the curving strata and also has an indication of the characteristic of the four sets of broken lines studied from the field measurements and the study The thin slab By evolution, morphology and structural geology of Clay mine Occurred in the Triassic era This is the result of a collision between the Shan- Thai plate and the Indochina microscopy, causing the highest stress in the north-southeast region, resulting in sliding rocks. Skids that occur with local shear forces in the study area, along with slight transformation and the formation of other geological structuresen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีวิทยา -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectเหมืองแร่ -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectGeology -- Thailand -- Uthai Thanien_US
dc.subjectMines and mineral resources -- Thailand -- Uthai Thanien_US
dc.titleธรณีวิทยาโครงสร้างของเหมืองเคลย์ บริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของ อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานีen_US
dc.title.alternativeStructural geology of clay mine at southeast of Ban Rai district, Uthai Thani provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-GEO-024 - Rungrot Sunthon.pdf5.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.