Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78553
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ | - |
dc.contributor.author | ชูวิช เชาวรินทร์ | - |
dc.contributor.author | พิชชาพร เจนเจริญวงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-09T08:31:40Z | - |
dc.date.available | 2022-05-09T08:31:40Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78553 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การพัฒนาระบบดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตั้งเป้าจะใช้เทคโนโลยีฟลูอิไดเซชันในช่วงการไหลแบบ Circulating-Turbulent Fluidized Bed (CTFB) ด้วยหอดักจับไรเซอร์แบบหลายชั้น สูง 1 เมตร และกว้าง 0.05 เมตร มีการติดตั้งระบบแลกเปลี่ยนความร้อนซึ่งมีหน่วยแลกเปลี่ยนความร้อน ใช้ท่อทองแดงประเภท L ขนาด ¼ นิ้ว จำนวนทั้งสิ้น 66 ท่อ เป็นท่อลำเลียงน้ำหล่อเย็น ในระบบนี้ใช้ตัวดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นโพแทสเซียมคาร์บอเนต (K2CO3) ที่โหลดบน แกรมมาอลูมิน่า (γ-Al2O3) ด้วยวิธี Impregnation โดยทำ การศึกษาตัวแปร 3 ตัวที่ส่งผลต่อการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้แก่ อัตราการไหลเข้าของแก๊ส, อุณหภูมิของน้ำหล่อเย็น และความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขาเข้า โดยใช้โปรแกรม LabVIEW สำหรับวัดและประมวลผลการวิเคราะห์ความเข้มข้นและอุณหภูมิของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซนเซอร์ จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพและสภาวะที่เหมาะสมในการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากการทดลองพบว่า การเตรียมตัวดูดซับด้วยวิธี Impregnation สามารถดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดีขึ้น, อัตราการไหลเข้าของก๊าซส่งผลต่อการกระจายตัวของตัวดูดซับ, อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นส่งผลต่อการเกิดปฏิกิริยาการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีผลต่อความสามารถดักจับก๊าซคาร์บอนได- ออกไซด์ อย่างไรก็ตาม ด้วยความเร็วของแก๊สที่ใช้ ฟลูอิไดเซชันที่เกิดขึ้น อยู่ในช่วงการไหลแบบ Bubbling flow regime | en_US |
dc.description.abstractalternative | The development of a carbon dioxide capture system aims to use Fluidization technology in Circulating-Turbulent Fluidized Bed (CTFB) regime with a multi-staged sorption riser. The riser column is 1 m high and 0.05 m wide and a heat exchanger system installed with 66 type L copper tubes with a nominal size of ¼ inch to transport cooling water. This system uses Potassium Carbonate (K₂CO₃) support on gamma alumina (γ-Al₂O₃) as solid sorbent by impregnation method. This project studied 3 parameters that affect CO₂ capture capacity: flow rate of gas inlet, temperature of cooling water, concentration of gas inlet, respectively. LabVIEW program was used for analyzing CO₂ concentration and temperature from sensors. From this result, the sorbent which was prepared by impregnation method improves CO₂ capture capacity. Flow rate and concentration of gas inlet affect the distribution of the sorbent in the riser. Temperature of cooling water affects CO₂ adsorption reaction. However, with selected gas flow rates, the flow regime of the fluidized bed system was in bubbling regime. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คาร์บอนไดออกไซด์ -- การดูดซึมและการดูดซับ | en_US |
dc.subject | ฟลูอิไดเซชัน | en_US |
dc.subject | Carbon dioxide -- Absorption and adsorption | en_US |
dc.subject | Fluidization | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบดักจับ CO₂ โดยใช้เทคโนโลยีฟลูอิไดเซชัน | en_US |
dc.title.alternative | Develop a CO₂ capture system of CTFB unit | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-CHEMENG-021 - chuvich chao.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.