Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78568
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัฒทรา ธีรพิบูลย์เดช | - |
dc.contributor.author | รังรักษ์ ทรหด | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-11T03:26:56Z | - |
dc.date.available | 2022-05-11T03:26:56Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78568 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | สารสกัดขมิ้นได้จากการสกัดเหง้าขมิ้นแห้ง และนำไปเตรียมฟิล์มขมิ้นทั้งหมด 27 ตัวอย่าง โดยมี วัตถุประสงค์คือ เพื่อหาสมการความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทั้งสามอย่างที่มีผลต่อความสามารถในการละลาย ของอนุภาคขมิ้นในน้ำ ปัจจัยทั้งสาม ได้แก่ ความเข้มข้นของสารสกัดขมิ้น, ไฮดรอกซีโพรพิลเมทิลเซลลูโลส (HPMC) และพอลิไวนิลไพโรลิโดน (PVP) ความสามารถในการละลายของอนุภาคขมิ้นถูกกำหนดด้วยการ ดูดกลืนแสงของสารละลายฟิล์มขมิ้น วิเคราะห์โดยใช้เครื่องอัลตราไวโอเล็ตสเปกโทรสโกปีที่ 450 นาโนเมตร สมการที่ได้คือ Y = 0.74 - 0.09A + 0.11B + 0.13C ซึ่ง Y คือการดูดกลืนแสงของสารละลายฟิล์มขมิ้น และ A, B และ C คือความเข้มข้นของสารสกัดขมิ้น HPMC และ PVP ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์ของ B และ C เป็นค่าบวกเช่นเดียวกัน บ่งชี้ถึงความเข้มข้นของ HPMC และ PVP ส่งผลในเชิงบวก ในทางตรงกันข้าม ค่า สัมประสิทธิ์ของ A เป็นค่าลบแสดงว่าการเพิ่มความเข้มข้นของสารสกัดขมิ้นไม่เป็นผลดีต่อการละลาย และ เมื่อใช้สมการในการทำนายการดูดกลืนแสงของสารละลายฟิล์มพบว่าค่าความคลาดเคลื่อนของค่าเฉลี่ย (RMSE) ของสมการนี้คือ 0.23 | en_US |
dc.description.abstractalternative | Turmeric extract was obtained from the extraction of dried turmeric rhizomes and used for preparing turmeric-loaded film (TF). Twenty-seven from factorial design. TFs were fabricated with the aim to figure the correlation equation between three factors that affected to the aqueous solubility of turmeric particles. Three factors of this experiment were the concentrations of turmeric extract, hydroxypropyl methylcellulose (HPMC) and polyvinylpyrrolidone (PVP). The aqueous solubility of turmeric particles was determined from the absorption of TF solution by ultra-violet spectroscopy at 450 nanometre. The equation was Y = 0.74 – 0.09A + 0.11B + 0.13C in which Y was the absorbance of TF aqueous solution, and A, B and C were the concentrations of turmeric extract, HPMC and PVP, respectively. The coefficients of B and C were similarly positive values which indicated the positive effects of the concentrations of HPMC and PVP. In contrast, the coefficient of A was a negative value which implied that increasing the concentration of turmeric extract was not good result. Moreover, the prediction of Absorbance of TF solution using the regression model give satisfied result with the Root Mean Squared Error (RMSE) of this equation was 0.23. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ขมิ้นชัน | en_US |
dc.subject | Turmeric | en_US |
dc.title | การศึกษาสัดส่วนของสารก่อฟิล์มชนิดต่าง ๆ ที่มีผลต่อการละลายน้ำของฟิล์มขมิ้นชัน | en_US |
dc.title.alternative | Study of the proportion of various film-forming agents on the water solubility of curcumin film | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63-SP-CHEM-030 - Rangrak Torahod.pdf | 25.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.