Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราวุฒิ ตั้งพสุธาดล-
dc.contributor.authorสิตานันท์ แซ่อึ๊ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-11T08:19:23Z-
dc.date.available2022-05-11T08:19:23Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78574-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันพลาสติกชีวภาพที่สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เช่น แก้วน้ำ หลอดดูดน้ำ และ ถุงพลาสติกที่ย่อยสลายได้ โดยมี poly(lactic acid) หรือ PLA เป็นองค์ประกอบหลัก PLA ได้จากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของ lactic acid ซึ่งเป็นชีววัสดุที่ได้จากการหมักแป้งและน้ำตาล แต่การใช้ PLA ทำเป็นผลิตภัณฑ์มีข้อจำกัด คือ PLA เป็นพอลิเมอร์ที่ค่อนข้างเปราะและเสียรูปที่อุณหภูมิสูง งานวิจัยนี้ จึงมีจุดประสงค์ที่จะพัฒนาข้อด้อยของ PLA เหล่านั้นด้วยการผสม PLA เข้ากับ poly(ethylene glycol) หรือ PEG แล้วเชื่อมขวางพอลิเมอร์เบลนด์ด้วยสาร 1,3-diazido-2-propanol (DAZ) จากการทดลองพบว่า ฟิล์ม PLA-PEG ที่อัตราส่วน 7:3 แล้วเชื่อมขวางด้วย DAZ ในปริมาณ 50% (โดยน้ำหนักเทียบกับ PLA) มีลักษณะ เป็นแผ่นและเปราะน้อยกว่าฟิล์ม PLA เดิม แต่ในงานนี้ไม่สามารถวิเคราะห์ผลการทดสอบการทนต่อความร้อน ด้วยการวิเคราะห์น้ำหนักเชิงความร้อน (TGA) ได้ เนื่องจากมีตัวทำละลายและสารประกอบต่าง ๆ เจือปนใน สารตัวอย่างซึ่งส่งผลรบกวนการวิเคราะห์ ผู้วิจัยจึงขอเสนอให้มีการทดสอบการทนต่อความร้อนของฟิล์มด้วย เทคนิคอื่นเพิ่มเติมในภายภาคหน้าen_US
dc.description.abstractalternativeAt the present there is a widely use of bioplastic products, such as biodegradable cup, straws and plastic bags. The major polymer used in these products is poly(lactic acid) or PLA, a biodegradable polymer obtained from polymerization of lactic acid, a bioresource from fermentation of starch. One of limitation of using PLA products is that PLA is inherently brittle and can deform at high temperatures. The aim of this research was to reduce these limitations by blending PLA with poly(ethylene glycol) or PEG and then cross-linking the polymer blend with 1,3-diazido-2-propanol (DAZ). From the experiment, PLA-PEG films with the weight ratio of 7:3 plus the DAZ content of 50% (by weight of PLA) were crosslinked to provide solvent-cast films that were less brittle than the original PLA films. Temperature resistance test by thermal gravimetric analysis (TGA) could not, however, indicate thermal stability, probably due to the remaining solvents in the tested samples. Therefore, additional temperature testing is expected.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกรดโพลิแล็กติกen_US
dc.subjectพลาสติกชีวภาพen_US
dc.subjectการเชื่อมขวาง (โพลิเมอไรเซชัน)en_US
dc.subjectPolylactic aciden_US
dc.subjectCrosslinking (Polymerization)en_US
dc.titleพอลิแล็กติกแอซิดที่เชื่อมขวางได้ด้วยแสงen_US
dc.title.alternativePhoto-Crosslinkable Poly(Lactic Acid)en_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-CHEM-039 - Sitanan Sae-ung.pdf20.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.