Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78580
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลักษณา ดูบาส | - |
dc.contributor.advisor | ปรีชา ภูวไพรศิริศาล | - |
dc.contributor.author | ณัฐพล ดีสม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-12T01:10:12Z | - |
dc.date.available | 2022-05-12T01:10:12Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78580 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | สถานการณ์โควิด ส่งผลต่อการชะลอตัวของการส่งออกทุเรียนอบแห้งเยือกแข็ง โดยการส่งออกปรับลดลงจากปี 2562 ร้อยละ 30.53 ส่งผลให้ผู้ผลิตประสบปัญหากลิ่นหืนในทุเรียนอบแห้งเยือกแข็งที่เก็บไว้เพื่อรอการส่งออก ดังนั้นในการศึกษาจึงมุ่งศึกษาสาเหตุของการเกิดกลิ่นหืนและโครงสร้างของสารที่ก่อให้เกิดกลิ่นหืน เพื่อนำไปพัฒนาวิธีการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ต่อไป โดยในการศึกษานี้ใช้เทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟีแอลแฟกโทเมทรี เพื่อหากลิ่นที่แตกต่างระหว่างทุเรียนอบแห้งเยือกแข็งแบบหืนและไม่หืน พบว่ากลิ่นที่ตรวจวัดได้แบ่งออกในสามลักษณะ คือ กลิ่นที่พบทั้งในทุเรียนอบแห้งเยือกแข็งแบบหืนและไม่หืน ได้แก่ กลิ่นคล้ายสับปะรด, กลิ่นคล้ายเนยแข็ง, กลิ่นคล้ายถั่ว, กลิ่นคล้ายแอปริคอท, กลิ่นคล้ายมะพร้าว, กลิ่นคล้ายแอปเปิล และ กลิ่นคล้ายน้ำมันเบนซิน ลักษณะที่ 2 คือ กลิ่นที่พบเพียงในทุเรียนอบแห้งแบบไม่หืน คือ กลิ่นคล้ายหัวหอมคั่วและกลิ่นคล้ายกำมะถัน ลักษณะสุดท้ายกลิ่นที่พบเพียงในทุเรียนอบแห้งเยือกแข็งแบบหืนคือ กลิ่นหืน ในการระบุสารที่แตกต่างกันระหว่างทุเรียนดีและทุเรียนกลิ่นหืนนั้น จะใช้เทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโทรเมทรี ซึ่งพบว่าสารที่คาดว่าจะก่อให้เกิดกลิ่นหืน คือ กรดเดคาโนอิก และ กรดโคเดคาโนอิก โดยสารทั้งสองชนิดอาจจะเกิดจากปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของไขมันประเภทไตรกลีเซอไรด์สายกลาง ในทุเรียนอบแห้งเยือกแข็งที่เก็บไว้นาน | en_US |
dc.description.abstractalternative | Because Covid-19 epidemic causing the exportation of freeze-dried durian decreased by 30.53 % from 2019, the manufacturer has encountered a problem of rancid smell in freeze-dried durian that it was stored for the exportation. Therefore, this study aims to investigate the causes of rancidity by identifying the substances that cause rancidity to develop the storage methods to prolong the shelf-life. The chemical profile study of both rancid and unspoiled freeze-dried durians by using gas chromatography – olfactometry was conducted and compared. The observed smell was divided into three groups. First, the smells found in both the rancid and unspoiled freeze-dried durian are similar to those of pineapple, cheese, nuts, apricot, coconut, apple and benzine oil. The second group is the smell only found in unspoiled freeze-dried durian that is similar to the smells of roasted onions and sulfur. Lastly, the rancid smell is only found in rancid freeze-dried durian. Gas chromatography-mass spectrometry was used to identify the products difference between unspoiled durian and rancid durian. The substances expected to produce rancid odors are decanoic acid and dodecanoic acid. Both substances may be caused by the hydrolytic rancidity process of medium chain triglycerides in long stored freeze-dried durian. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ทุเรียน -- การอบแห้ง | en_US |
dc.subject | ทุเรียน -- กลิ่นรสและกลิ่น | en_US |
dc.subject | การถนอมอาหาร | en_US |
dc.subject | Durian -- Drying | en_US |
dc.subject | Durian -- Flavor and odor | en_US |
dc.subject | Food -- Preservation | en_US |
dc.title | การระบุสารที่ก่อให้เกิดการหืนในทุเรียนอบแห้งเยือกแข็งโดยใช้การสกัดด้วยไดคลอโรมีเทน | en_US |
dc.title.alternative | Identification of rancid components contributing to off-flavor in freeze dried durian using Dichloromethane extraction | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63-SP-CHEM-009 - Nattapon Deesom.pdf | 26.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.