Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปกรณ์ วรานุศุภากุล-
dc.contributor.authorอติวิชญ์ สันติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-12T09:53:42Z-
dc.date.available2022-05-12T09:53:42Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78592-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractอุตสาหกรรมการประมงในปัจจุบันมีแนวโน้มที่เติบโตขึ้นทั่วโลก รวมถึงผลผลิตจากอุตสาหกรรมการประมงยังเป็นสิ่งที่ต้องการในจำนวนมาก อย่างไรก็ตามการสูญเสียปริมาณของผลผลิตจากอุตสาหกรรมการประมงนั้นก็ยังคงเกิดขึ้นอยู่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสาเหตุของสูญเสียดังกล่าวนั้นมาจากความเป็นพิษของแอมโมเนีย (ammonia) ที่อยู่ในน้ำ งานวิจัยนี้จึงต้องการพัฒนาอุปกรณ์สำหรับการติดตามระดับแอมโมเนียในน้ำซึ่งมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาอุปกรณ์ที่สามารถติดตามแอมโมเนียที่แม่นยำ และปลอดภัย งานวิจัยนี้พัฒนาอุปกรณ์ติดตามระดับแอมโมเนียโดยใช้เส้นใยนำแสง (optical fiber) โดยการนำเส้นใยนำแสงมาลอกชั้นฟิล์มหุ้มออก (uncladding) และทำการเคลือบด้วยสาร oxazine 170 perchlorate มีลักษณะเป็นสารเรืองแสงที่มีการเปลี่ยนแปลงสีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่า pH ซึ่งมีความสัมพันธ์กับระดับของแอมโมเนีย การเปลี่ยนแปลงสีของสารจะสังเกตได้โดยการใช้เส้นใยนำแสงควบคู่ไปกับสเปกโทรเมเตอร์ (Spectrometer) ในงานวิจัยนี้ศึกษาและทดลองการเตรียมเส้นใยนำแสงเพื่อนำไปตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสี โดยมีการใช้เส้นใยนำแสงพลาสติก (Plastic optical fiber หรือ POF) ในขั้นตอนแรกเริ่มจากการลอกชั้นฟิล์มหุ้มของเส้นใยนำแสงพบว่าการใช้อะซีโตนและน้ำกลั่นในอัตราส่วน 1:1 เป็นภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการลอกชั้นฟิล์มหุ้ม หลังจากนั้นนำเส้นใยดังกล่าวมาทดสอบกับน้ำ, สีผสมอาหาร และสารฟลูออเรสเซนต์เพื่อทำการตรวจวัดสีที่เปลี่ยนไปและสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกันของแสงที่ส่งผ่านกับช่วงการดูดกลืนแสงแต่ละความยาวคลื่น โดยเส้นใยนำแสงที่ถูกทดสอบแล้วสามารถนำมาใช้งานในการตรวจวัดเชิงแสงร่วมกับสาร oxazine 170 perchlorate และนำมาประยุกต์ใช้เพื่อติดตามระดับแอมโมเนียในน้ำได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe fishing industry today has tended to grow throughout the world and its products also have considerably been in demand. However, the product loss in this industry has still occurred continuously owing to the toxicity of ammonia in water. Therefore, development of the device for monitoring ammonia levels in the fishing industry is necessary. In this research, optical fiber based device was developed. The optical fiber was uncladded and coated with oxazine 170 perchlorate, a fluorescence dye, the color of which could be affected by the change of pH that corresponds to the ammonia level. The color change of the dye would be observed by an optical fiber spectrometer. In this research, preparation of optical fibers for sensing color was studied and tested. The plastic optical fibers were used. First, uncladding of the fiber was investigated. Using acetone and distilled water at the ratio of 1:1 was the most suitable condition for uncladding. Then, the uncladded fiber was tested for color sensing using water, food dye and fluorescence dye. The transmitted light and corresponding absorbed wavelength could be observed. The optical fiber was successfully prepared and possibly be using as a light sensing probe that can be further modified with oxazine 170 and applied for monitoring of ammonia level in water.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแอมโมเนียen_US
dc.subjectมลพิษทางทะเลen_US
dc.subjectAmmoniaen_US
dc.subjectMarine pollutionen_US
dc.titleการพัฒนาอุปกรณ์ติดตามระดับแอมโมเนียในน้ำen_US
dc.title.alternativeDevice development for monitoring of ammonia level in wateren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-CHEM-044 - Atiiwit Suntikul.pdf22.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.