Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78615
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โศรดา กนกพานนท์ | - |
dc.contributor.author | นฤนาท ไชยถาวร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-18T03:58:30Z | - |
dc.date.available | 2022-05-18T03:58:30Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78615 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en_US |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลของการเชื่อมโยงพันธะโครงเลี้ยงเซลล์เจลาติน-ไคโตซาน (70:30) สำหรับใช้ในงานวิศวกรรมเนื้อเยื่อผิวหนัง โครงเลี้ยงเซลล์ถูกขึ้นรูปด้วยวิธีการทำแห้งแข็งและเชื่อมโยงพันธะแบบแช่และแบบใช้ความร้อนร่วมกับอบไอสารละลายกลูตารัลดีไฮด์ (GA) โดยมีการศึกษาผลของอุณหภูมิ (4, 25, 37 องศาเซลเซียส), เวลา (6, 12, 24, 48 ชั่วโมง), และความเข้มข้นของสารละลาย GA (0.03, 0.06, 0.085, 0.12% wt/v) ที่ใช้ในการเชื่อมโยงพันธะ การทดสอบลักษณะสมบัติทางกายภาพและทางเคมีพบว่าสภาวะที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการเชื่อมโยงพันธะแบบแช่และแบบใช้ความร้อนร่วมกับอบไอสารละลาย GA คือ ใช้ความเข้มข้นของ GA 0.06%โดยปริมาตร อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมงในที่มืด และใช้ความเข้มข้นของ GA 0.0047%โดยปริมาตร อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมงในที่มืด ตามลำดับ ทำให้ได้โครงเลี้ยงเซลล์ที่เชื่อมโยงพันธะแบบแช่และแบบใช้ความร้อนร่วมกับอบไอสารละลาย GA มีขนาดรูพรุน 95-105 และ 85-95 ไมครอน ความทนแรงกด 0.4-0.5 กิโลปาสคาล และ 0.25-0.35 กิโลปาสคาล ค่าครึ่งชีวิตของการย่อยสลายด้วยเอนไซม์คอลลาจีเนส 32 ยูนิตต่อมิลลิลิตร ภายนอกร่างกายประมาณ 8-9 วัน และ 7-8 วัน ตามลำดับ เมื่อทำการเปรียบเทียบโครงเลี้ยงเซลล์ที่เชื่อมโยงพันธะด้วยวิธีอื่นๆ ได้แก่ การเชื่อมโยงพันธะด้วยความร้อน และการเชื่อมโยงพันธะแบบใช้ความร้อนร่วมกับแช่สารละลาย dimethy laminopropyl carbodiimide hydrochloride/N-hydroxysuccinimideที่เชื่อมโยงพันธะแบบใช้สารเคมีมีระดับการเชื่อมโยงพันธะ ความทนแรงกด การสูญเสียน้ำหนักและการหดตัวสูงกว่าโครงเลี้ยงเซลล์แบบ DHT โครงเลี้ยงเซลล์ที่เชื่อมโยงพันธะแบบอบไอ GA มีลักษณะสมบัติใกล้เคียงกับโครงเลี้ยงเซลล์ที่เชื่อมโยงพันธะแบบแช่ EDC/NHS แต่โครงเลี้ยงเซลล์ทั้งสองชนิดนี้มีการสูญเสียน้ำหนักและการหดตัวที่ค่อนข้างสูง โครงเลี้ยงเซลล์แบบอบไอ GA ผ่านการทดสอบความเป็นพิษของโครงเลี้ยงเซลล์ด้วยวิธี elution test ตามมาตรฐาน ISO 10993 (EDC/NHS) ขนาดรูพรุนของโครงเลี้ยงเซลล์ที่ผ่านการเชื่อมโยงพันธะแบบต่างๆไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ โครงเลี้ยงเซลล์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The current studies investigated the effects of crosslink methods on characteristics of gelatin-chitosan scaffolds (0.5 and 0.8% wt/wt total solids) for soft tissue engineering applications. The freeze-dried scaffolds were crosslinked by immersion under glutaraldehyde solution (GA) (GAS) or vacuum heat treatment followed by GA vapor treatment (DGAV). The crosslink processes were done at variable temperatures (4, 25, 37°C), time of crosslink (6, 12, 24, 48 h), and concentration of GA solution (0.03, 0.06, 0.085, 0.12% wt/v). Physico-chemical properties of these scaffolds were evaluated. The optimum conditions for GAS process, and DGAV process were 0.06%GA concentration, at 4°C for 24 hours and 0.0047%GA concentration at 4°C for 24 hours respectively. Pore size of these scaffolds were in the range of 95-105 and 85-95 microns, compressive moduli were 0.4-0.5 and 0.25-0.35 kPa, and their half lives in collagenase (32 U/ml) 8-9 and 7-8 days respectively. In comparison to the scaffolds crosslinked using other methods, such as, dehydrothermal crosslinking (DHT) and DHT followed by immersion under dimethylaminopropyl carbodiimide hydrochloride/N-hydroxysuccinimide solution (DEDC). Pore sizes of all scaffolds had no significant differences. However the scaffolds from chemical crosslink processes showed higher degree of crosslinking, compressive moduli, weight loses and shrinkages than those of the DHT. Characteristics of the scaffolds from DGAV method led to more weight loses and shrinkages similar to those from DEDC method. The DGAV scaffolds were tested on cytotoxicity (indirect method) and the samples were found to be nontoxic according to ISO 10993 (1998). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ผลของวิธีการเชื่อมโยงพันธะที่มีต่อลักษณะสมบัติของโครงเลี้ยงเซลล์ ที่ทำจากเจลาติน-ไคโตซาน | en_US |
dc.title.alternative | Effects of crosslinking methods on characteristics of gelatin-chitosan scaffold | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
4870336221_2550.pdf | วิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Fulltext) | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.