Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78617
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย ตันฑุลานิ-
dc.contributor.authorกวิสรา ศรีภุชงค์-
dc.contributor.authorเจริญขวัญ ไกรยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-18T04:09:16Z-
dc.date.available2022-05-18T04:09:16Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78617-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractสารประกอบฟีนอลเป็นสารต้านอนุมูลอิสระชนิดหนึ่งที่ใช้เป็นสารเติมแต่งในน้ำมันหล่อลื่นเพื่อช่วยยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน การวิเคราะห์หาสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันหล่อลื่นสามารถใช้ในการทำนายอายุการใช้งานของน้ำมันหล่อลื่นได้ งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันหล่อลื่นด้วยเทคนิคลิเนียร์สวีปโวลแทมเมททรี และฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรมีเตอร์ เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์พบว่าปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระที่คงเหลือในน้ำมันที่วิเคราะห์ด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรมีเตอร์ มีค่ามากกว่าการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคลิเนียร์สวีปโวลแทมเมททรี ถึงร้อยละ 96 โดยประมาณ ของตัวอย่างน้ำมันที่ใช้ในการวิเคราะห์ จึงทำการวิเคราะห์ทดลองเพื่อหาความแตกต่างของการวิเคราะห์ทั้งสองเทคนิคด้วยโดยการนำน้ำมันตัวอย่างมาสกัดด้วยตัวทำละลาย green solution ก่อนทำการวิเคราะห์ พบว่าไม่สามารถบอกถึงความแตกต่างของการวิเคราะห์จากทั้งสองเทคนิคได้ ต่อมาได้เติมสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสารมาตรฐานที่มีคุณสมบัติเหมือนกับสารเติมแต่งในน้ำมันหล่อลื่นเพื่อดูลักษณะพีคที่เกิดขึ้นจากเทคนิคฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรมีเตอร์ พบว่าสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐานที่เป็นสารประกอบฟีนอลส่งผลให้ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระมากขึ้น ส่วนสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐานชนิดอื่น ๆ ไม่มีผลต่อการวิเคราะห์ สุดท้ายได้ทำการหาองค์ประกอบในน้ำมันหล่อลื่นโดยการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคแมสสเปกโตรเมทรี ของน้ำมันหล่อลื่นและน้ำมันหล่อลื่นที่สกัดด้วยตัวทำละลาย green solution พบว่าองค์ประกอบของน้ำมันหล่อลื่นเป็นสารโมเลกุลขนาดใหญ่ที่มีหมู่แทนที่แตกต่างกันออกไป และลักษณะสเปกตรัมของน้ำมันที่สกัดด้วยตัวทำละลาย green solution นั้นมีจำนวนองค์ประกอบที่พบ และ intensity ที่มากกว่า แต่อย่างไรก็ตามมวลโมเลกุลเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถบอกได้ว่าองค์ประกอบที่แท้จริงคือสารใด จากการทดลองทั้งหมดจึงยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่าการวิเคราะห์ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระทั้งสองเทคนิคแตกต่างกันเพราะเหตุใด ดังนั้นการทำนายอายุการใช้งานของน้ำมันหล่อลื่นควรจะใช้ผลการวิเคราะห์จากทั้งสองเทคนิคควบคู่กันไปen_US
dc.description.abstractalternativePhenols are additives which used for anti-oxidation in turbine oils. The determination of the antioxidants in turbine oils can be used to predict its service life. In these studies we use the linear sweep voltammetry and Fourier transform infrared spectrometer to determine the amount of antioxidants in turbine oils. Results showed that using FTIR technique to determine the antioxidants gave higher amount of antioxidants than that using linear sweep voltammetry (ca. 96% of total analysis). To find the difference in both techniques with the use of green solution to extract samples before determining the antioxidants with both techniques, the result cannot tell the difference in both techniques. Furthermore, adding the antioxidant standards that have the same properties with additives in turbine oils showed that phenol standards gave higher amount of antioxidants in turbine oils while other antioxidant standards did not. Using mass spectrometry to determine the composition in turbine oils and the extracted turbine oils showed that the mass spectra of the extracted turbine oils had more composition and higher intensity. However, with only the molar mass cannot confirm the real composition of extracted turbine oils. These studies cannot be concluded why both techniques gave different results. Therefore, to predict the service life of turbine oils, both techniques should be used. Keywords:en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารประกอบฟีนอลen_US
dc.subjectแอนติออกซิแดนท์en_US
dc.subjectน้ำมันหล่อลื่นen_US
dc.subjectPhenolsen_US
dc.subjectAntioxidantsen_US
dc.subjectLubricating oilsen_US
dc.titleการเปรียบเทียบการวิเคราะห์หาปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำมันหล่อลื่น ด้วยเทคนิคเอฟทีไออาร์และลิเนียร์สวีปโวลแทมเมทรีen_US
dc.title.alternativeComparison of quantitative analysis of antioxidants in turbine oil by FTIR and linear sweep voltammetryen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-CHEM-001 - Kawisara Sripuchong.pdf37.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.