Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงษ์ ทรงพงษ์-
dc.contributor.authorไปรยา ทองเหลือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-18T04:17:25Z-
dc.date.available2022-05-18T04:17:25Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78618-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractโครงงานนี้นำเสนอการสร้างเครื่องวัดความเร็วอากาศ โดยการวัดความต่างระหว่างความดันสถิตและความดันที่จุดหยุดนิ่ง เพื่อคำนวณหาความเร็วอากาศตามหลักการของสมการแบร์นูลลี (Bernoulli’s equation) ซึ่งโครงงานนี้ใช้ท่อทองแดงในการสร้างหัววัดความดันแบบท่อพิโทท์ (Pitot tube) และใช้ Arduino ในการเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าความดันอากาศจากเซนเซอร์วัดความดันบรรยากาศ (BMP180) เพื่อนำมาคำนวณค่าความเร็วอากาศและแสดงค่าความเร็วอากาศไปยังจอแสดงผล (LCD) โดยในส่วนของการเขียนโปรแกรมมีการนำตัวกรองแบบ Infinite Impulse Response (IIR) ซึ่งเป็นตัวกรองแบบดิจิตอลชนิดหนึ่งมาใช้ร่วมด้วยเพื่อให้ได้ค่าความเร็วอากาศที่ถูกต้องมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการทดสอบและสอบเทียบกับมาโนมิเตอร์ชนิดของเหลวซึ่งพบว่าเครื่องวัดความเร็วอากาศเหมาะสำหรับการใช้งานในช่วงความเร็วอากาศที่สูงกว่า 8 เมตรต่อวินาทีขึ้นไปen_US
dc.description.abstractalternativeThis project purpose construction of air speed measurement equipment by measuring the difference between static pressure and stagnation pressure for calculating the air speed using Bernoulli’s equation. In this project, using a copper tube to build a pitot tube and using Arduino connects to the barometric pressure sensor (BMP180) to measure the pressure and LCD to display the data. The part of the coding program utilized Infinite Impulse Response (IIR) which is a digital filter in order to achieve better accuracy and precision calibrated data. Moreover, the calibration of air speed from the purpose equipment is compared with the result from the standard manometer. The result shows that air speed measurement from the purpose of the equipment is correct when air speed is greater than 8 m/s.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอากาศ -- ความเร็ว -- การวัดen_US
dc.subjectAir -- Speed -- Measurementen_US
dc.titleการสร้างเครื่องวัดความเร็วอากาศ โดยใช้หัววัดความดันอากาศและสมการแบร์นูลลีen_US
dc.title.alternativeConstruction of air speed measurement equipment using barometric pressure sensors and Bernoulli’s equationen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-PHYS-021 - Praiya Thongluang.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.