Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราวุฒิ ตั้งพสุธาดล-
dc.contributor.authorวิศรุต เกียรติอมรวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-20T06:08:07Z-
dc.date.available2022-05-20T06:08:07Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78638-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการพัฒนาการกระเด้งกระดอนของโฟมพอลิเอทิลีไวนิลแอซีเทต (อีวีเอ) ที่ขึ้นรูปด้วยกระบวนการอัด โดยศึกษาผลของตัวแปรที่สำคัญในการผลิตโฟมนั้นคือ ผลจากพอลิเมอร์ซึ่งสามารถแบ่งได้ตามเกรดของอีวีเอ และแบ่งตามค่าดัชนีการไหล ผลของสารทำให้เกิดฟอง และผลของสารคงรูปตามลำดับ หลังจากนั้นจะนำสูตรพื้นฐานที่ได้ไปผสมกับพอลิเมอร์อีกสองชนิดคือ พอลิเอทิลีนออกทีนและยางธรรมชาติในสัดส่วนที่ต่างกันเพื่อเพิ่มสมบัติการกระเด้งกระดอน โดยงานวิจัยนี้พบว่าโฟมที่มีการกระเด้งกระดอนสูงที่สุดคือ โฟมอีวีเอที่มีปริมาณไวนิลแอซีเทตเท่ากับ 28% โดยน้ำหนัก และมีค่าดัชนีการไหลเท่ากับ 5 ใช้เอโซไดคาร์โบนาไมด์เป็นสารทำให้เกิดฟอง และใช้ไดคิวมิลเอร์ออกไซด์เป็นสารคงรูปโดยมีค่าการกระเด้งกระดอนเท่ากับ 57% เมื่อนำมาเตรียมเป็นโฟมคอมพอสิตของอีวีเอ-พอลิเอทิลีนออกทีน-ยางธรรมชาติในอัตราส่วนโดยน้ำหนักเท่ากับ 70:15:15 พบว่าสามารถเพิ่มสมบัติการกระเด้งกระดอนได้เท่ากับ 60% ตลอดจนช่วยพัฒนาสมบัติความต้านทานต่อการขัดถู ความต้านทานต่อแรงดึงและการฉีกขาด แต่เมื่อเติมยางธรรมชาติแล้วพบว่าโฟมที่ได้มีสีเหลืองอ่อนซึ่งลดความเหลืองได้โดยการเติมผงไททาเนียมไดออกไซด์ (TiO₂) เพิ่มเติมจากเดิม แต่พบว่าโฟมที่ได้นี้มีการขยายตัวที่ลดลงอย่างมากจึงได้แนะนำไว้ว่าอาจแก้ไขโดยการเติมสารทำให้เกิดฟองในปริมาณเพิ่มขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to develop the rebound resilience property of ethylene vinyl acetate (PEVA) foam using compression molding process. Key parameters relating to form production that were evaluated were as follows, effect of polymer grade classified by vinyl acetate (VA) content and melt flow index, types of blowing agents and curing agents. The obtained foambase formula were then blended with poly(ethylene octene) and natural rubber with the goal to enhance their rebound resilience properties. It appeared that the PEVA foam with the best rebound resilience property of 57% was obtained when the VA content was 28%, PEVA melt flow index of 5, and using azodicarbonamide, and dicumyl peroxide as foaming and curing agents, respectively. Then, a composite foam of PEVA-poly(ethylene octene)-natural rubber with the ratio of 70:15:15 could achieve the resilience property as high as 60%. In addition, abrasion resistance, tear and tensile strength were also improved. It was, however, found that the resulting composite foam was pale yellow in color, which could be reduced by adding a higher amounts of titanium dioxide (TiO₂). Furthermore, the expansion ratio was significantly reduced but it was recommended that this can be solved by adding a more foaming agent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัสดุโฟมen_US
dc.subjectโพลิเอทิลีนen_US
dc.subjectFoamed materialsen_US
dc.subjectPolyethyleneen_US
dc.titleการศึกษาพัฒนาสมบัติการกระเด้งกระดอนของโฟมพอลิเอทิลีนไวนิลแอซีเทตen_US
dc.title.alternativeImprovement of Rebound Resilience Properties in Ethylene-Vinyl Acetate Foamen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-CHEM-006 - Visarut Kiatamornvong.pdf68.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.