Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชญา นิติวัฒนานนท์-
dc.contributor.authorทีปกร ซอนรัมย์-
dc.contributor.authorธนวรรธน์ ว่องพิชิตกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-01T06:48:26Z-
dc.date.available2022-06-01T06:48:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78693-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิตน้ำมันชีวภาพจากไม้ไผ่กิมซุงด้วยวิธีการไพโรไลซิสในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง ตัวแปรที่ศึกษาคือ อุณหภูมิของการไพโรไลซิส 400 450 500 และ 550 องศาเซลเซียส ขนาดอนุภาคไม้ไผ่ 4 ช่วง คือ 0.25-0.50 0.50-0.71 0.71-1.18-2.00 มิลลิเมตร และอัตราการไหลของไนโตรเจนที่ 40 80 120 และ 160 มิลลิลิตรต่อนาที ตัวแปรที่กำหนดให้คงที่คือ น้ำหนักของไม้ไผ่ 4 กรัม ความดันบรรยากาศ และเวลาที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา 30 นาที ผลิตภัณฑ์น้ำมันชีวภาพที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์องค์ประกอบและค่าความร้อน ด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟีแบบแมสสเปกโตรมิเตอร์ (GC-MS) และเครื่องบอมบ์แคลิริมิเตอร์ ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ของแข็งถูกนำเข้าโถดูดความชื้นก่อนนำไปชั่งน้ำหนักส่วนผลิตภัณฑ์แก๊สที่เกิดขึ้น ถูกเก็บหลังจากเกิดปฏิกิริยาแล้ว 3 นาที ซึ่งนำไปวิเคราะห์องค์ประกอบด้วย เครื่องแก๊สโครมาโทกราฟี (GC) ผลการทดลองพบว่า สภาวะการทดลองที่ให้น้ำมันชีวภาพมากที่สุด คือ อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส ขนาดของไม้ไผ่ 0.50—.71 มิลลิเมตร และอัตราการไหลของไนโตรเจนที่ 120 โดยได้น้ำมันร้อยละ 54.37 โดยน้ำหนัก มีค่าความร้อน 23.93 เมกะจูลต่อกิโลกรัม ซึ่งใกล้เคียงกับค่าความร้อนของน้ำมันชีวภาพที่ได้จากการไพโรไลซิสไม้ยูคาลิปตัสในเครื่องปฏิกรณ์ชนิดเดียวกัน คือ 23.14 เมกะจูลต่อกิโลกรัม เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของน้ำมันชีวภาพพบว่ามีปริมาณสารในกลุ่มฟีนอลมากที่สุด รองลงมาคือ สารในกลุ่มคีโทน ไฮโดรคาร์บอน อีเทอร์ ฟูแรน แอลดีไฮด์ แซ็กคาไรด์ และมีปริมาณน้อยสุดคือสารในกลุ่มกรดคาร์บอกซิลิก ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the production of bio-oil from Bambusa beecheyana Munro bamboo using pyrolysis process in fixed bed reactor. There are two parameters studied in this work: pyrolysis temperatures of 400, 450, 500 and 550 °C bamboo particle sizes of 0.25-0.50, 0.50-0.71, 0.71-1.18, and 1.18-2.00 mm and rate of nitrogen gas of 40, 80, 120 and 160 ml/min. The fixed parameters are initial feed of bamboo (4 gram) , operating at pressure (1 atm) and residence time (30 minutes). The bio-oil yielded were analyzed for compositions and heating values using gas chromatography mass spectrometer (GC-MS) and bomb calorimeter, respectively. The solid charcoal yielded was put in the desiccator before weighting. And, the gas produced yielded collected after 3 minutes of reaction was analyzed by gas chromatography. The results showed that the conditions given the maximum bio-oil production were at 500 °C , 0.50-0.71 mm particle size of bamboo and the rate of nitrogen gas at 120 ml/min. The bio-oil yielded was 54.37 percent by weight having heating value of 23.93 MJ/kg. The heating value of bio-oil from this work are as high as the bio-oil producing from eucalyptus wood which are 23.14 MJ/kg. According to the compositions analysed of bio-oil, the highest composition was Phenols group, followed by Ketones, Hydrocarbons, Ethers, Furans, Aldehyde, Saccharide and the least was Carboxylic acids.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแยกสลายด้วยความร้อนen_US
dc.subjectไม้ไผ่en_US
dc.subjectพลังงานชีวมวลen_US
dc.subjectPyrolysisen_US
dc.subjectBambooen_US
dc.subjectBiomass energyen_US
dc.titleการผลิตน้ำมันชีวภาพจากไม้ไผ่ด้วยวิธีไพโรไลซิสในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่งen_US
dc.title.alternativeBio-oil production from bamboo by pyrolysis in fixed-bed reactoren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-CHEMENG-008 - Theepakron sonram.pdf34.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.