Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78696
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภัสสร์พล งามอุโฆษ | - |
dc.contributor.advisor | ธำรงรุจน์ ฮุนตระกูล | - |
dc.contributor.advisor | จุฬพงษ์ พานิชเกรียงไกร | - |
dc.contributor.author | นรกมล เงินทวีคูณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-01T08:57:01Z | - |
dc.date.available | 2022-06-01T08:57:01Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78696 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | โครงการการเรียนการสอนเพื่อเสริมประสบการณ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเวลาและความเข้ม แสงที่เหมาะสมในการฉายแสงแบบ Pre - Exposed ฟิล์มสี 135 โดยได้ทำการทดลองทั้งหมด 3 วิธี คือ การใช้การ ฉายแสงโดยตรง การใช้การฉายแสงผ่านช่องเปิดขนาดเล็ก และ การใช้การถ่ายภาพซ้อน ซึ่งวิธีที่ได้ผลที่ดี คือ การ ใช้การถ่ายภาพซ้อน เนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถควบคุมตัวแปร ในการตกกระทบของแสงลงบนฟิล์มได้มากที่สุดใน 3 วิธีนี้ โดยวัดค่าแสงที่ใช้จาก Spot Meter โดยวัดแสงเฉพาะจุดบริเวณจุดกึ่งกลางของแสง เพื่อให้ได้ค่ารูรับแสง ความเร็วชัตเตอร์ และค่า EV (Exposure Value) ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งค่ารูรับแสงที่เหมาะสม คือ 1.4 ความเร็วชัตเตอร์ 1/2 (EV 2.9) และค่าที่อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้ คือ ลด 1-3 Stop โดยสามารถนำเทคนิคการถ่ายภาพกลางคืน เช่น การถ่ายพลุหรือการถ่ายไฟต่าง ๆ มาอ้างอิงได้ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลข้างต้นสามารถใช้เป็นแนวทางการศึกษาสภาวะ แสงที่เหมาะสมในการ Pre – Exposed รูปแบบอื่น ๆ ต่อไปได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This project was aimed to study optimal conditions for the preparation of Pre - Exposed 135 format color negative film. In 3 methods, direct exposure, pinhole exposure, and multiple exposure. The optimal condition is multiple exposure because this method can control every exposure variable calculated by the Spot meter. The recommended result for ISO 200 negative 135 films is F-number 1.4 speed shutter 1/2 which is normal exposure and acceptable for -1 to -3 EV. Reference from night photography techniques such as firework etc. However, the above data can be used as further studies of the optimum lighting conditions in Pre - Exposed. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ฟิล์มถ่ายภาพ | en_US |
dc.subject | การถ่ายภาพ | en_US |
dc.subject | Photography -- Films | en_US |
dc.subject | Photography | en_US |
dc.title | การหาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมฟิล์มเนกาทีฟสี แบบพรีเอกซ์โพสด์ขนาด 135 | en_US |
dc.title.alternative | Determination of Optimal Condition for the Preparation of Pre - Exposed 135 Format color Negative Film | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63-SP-IMAGE-007 - Norrakamol Ngoentaweekoon.pdf | 23.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.