Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78713
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชีวานันท์ เดชอุปการ | - |
dc.contributor.author | ธมนวรรณ พรหมอารักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-06T01:59:44Z | - |
dc.date.available | 2022-06-06T01:59:44Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78713 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การปนเปื้อนราและสารพิษจากราในกาแฟส่งผลกระทบต่อคุณภาพกาแฟ ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และสุขภาพของผู้บริโภค ซึ่งในปัจจุบันวิธีการควบคุมทางชีวภาพโดยใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์เพื่อลดการปนเปื้อนราในอาหารและผลผลิตทางการเกษตรมีความต้องการเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะแบคทีเรียกรดแลคติก โครงการนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษากลไกความสามารถของแบคทีเรียกรดแลคติกปฏิปักษ์ ไอโซเลท MW2A ที่แยกได้จากน้ำหมักจากกระบวนการผลิตเมล็ดกาแฟอาราบิก้า และไอโซเลท PF1B ที่แยกได้จากเมล็ดกาแฟหมัก ต่อการเจริญและการผลิตสารพิษจากรา Aspergillus flavus M3T8R403 และ Aspergillus carbonarius TK4.2 จากผลการทดลองพบว่า แบคทีเรียกรดแลคติกทั้งสองไอโซเลทมีประสิทธิภาพต่ำในการยับยั้งการเจริญของ A. flavus และ A. carbonarius (น้อยกว่า 25 เปอร์เซ็นต์การยับยั้ง) สำหรับการผลิตสารพิษจากรา พบว่า แบคทีเรียกรดแลคติกทั้งสองไอโซเลทมีประสิทธิภาพสูงในการลดการผลิตโอคราทอกซินเอของ A. carbonarius (ลดลงมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์) อย่างไรก็ตาม แบคทีเรียกรดแลคติกทั้งสองไอโซเลทไม่สามารถลดการผลิตอะฟลาทอกซินบี 1 ได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Fungal and mycotoxin contaminations in coffee affect on the coffee qualities, the economic loss and the consumer health. Currently, the biological control using antagonistic microorganism to reduce the fungal contamination in foods and agricultural products shows the increasing demand, especially lactic acid bacteria. The aim of this project was to study the effect of the antagonistic activity of lactic acid bacteria MW2A isolated from fermented water from arabica coffee processing and PF1B isolated from fermented coffee beans on the growth and mycotoxin production of A. flavus M3T8R403 and A. carbonarius TK4.2. From the results, both lactic acid bacteria showed low efficiency against A. flavus and A. carbonarius growth (< 25 %inhibition). For mycotoxin production, both lactic acid bacteria were highly effective to reduce ochratoxin A production of A. carbonarius (> 80 %reduction). However, the isolates could not reduce aflatoxin B1 production. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กาแฟ -- โรคและศัตรูพืช | en_US |
dc.subject | สารพิษจากเชื้อรา | en_US |
dc.subject | แบคทีเรียกรดแล็กติก | en_US |
dc.subject | Coffee -- Diseases and pests | en_US |
dc.subject | Mycotoxins | en_US |
dc.subject | Lactic acid bacteria | en_US |
dc.title | ผลของแบคทีเรียกรดแลคติกปฏิปักษ์ต่อการเจริญและการผลิตสารพิษจากราของ Aspergillus flavus และ Aspergillus carbonarius | en_US |
dc.title.alternative | Effect of antagonistic activity of lactic acid bacteria on growth and mycotoxin production of Aspergillus flavus and Aspergillus carbonarius | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-MICRO-012 - Thamonwan Promarak.pdf | 916.59 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.