Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปาหนัน เริงสำราญ | - |
dc.contributor.author | ธนพล กุลวัชวิมล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-06T03:44:28Z | - |
dc.date.available | 2022-06-06T03:44:28Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78718 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อค้นหาแบคทีเรียที่มีความสามารถยับยั้ง Pyricularia oryzae ที่ก่อ โรคไหม้ในข้าว โดยนำแบคทีเรีย 10 สายพันธุ์ที่คัดแยกมาจากดินและน้ำทะเลจากงานวิจัยก่อนหน้านี้มา ทดสอบความสามารถในการยับยั้งราด้วยวิธี dual culture และพบว่าแบคทีเรียสายพันธุ์ M23, M25 และ M26 มีความสามารถยับยั้ง P. oryzae ได้สูงที่สุด ด้วยเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง 48.33, 50.00 และ 55.00% ตามลำดับ จึงเลือก 3 สายพันธุ์ข้างต้นไปทดสอบความสามารถในการยับยั้งราด้วยน้ำเลี้ยงเชื้อ ปราศจากเซลล์ พบว่าน้ำเลี้ยงเชื้อปราศจากเซลล์ของแบคทีเรียสายพันธุ์ M25 แสดงความสามารถในการ ยับยั้งสูงที่สุด โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งได้ 54.07% รองลงมาคือ สายพันธุ์ M26 ซึ่งมีเปอร์เซ็นต์การ ยับยั้ง 45.53% และสายพันธุ์ M23 ซึ่งมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง 36.58% จากนั้นนำแบคทีเรียทั้ง 3 สาย พันธุ์ ไปทดสอบเพื่อหาภาวะที่เหมาะสมของแบคทีเรียในการเพิ่มประสิทธิภาพการยับยั้งรา จากการ ทดสอบหาอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสม ได้แก่ Luria-Bertani (LB), Nutrient Broth (NB) และ Tryptic Soy Broth (TSB) พบว่าเมื่อเลี้ยงแบคทีเรียด้วยอาหาร LB มีการยับยั้งรามากที่สุด โดยน้ำเลี้ยงเชื้อที่ ปราศจากเซลล์ของแบคทีเรียสายพันธุ์ M25 แสดงความสามารถในการยับยั้ง P. oryzae สูงที่สุด โดยมี เปอร์เซ็นต์การยับยั้งที่ 54.07% รองลงมาคือ สายพันธุ์ M26 โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง 45.53% และ สายพันธุ์ M23 โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง 36.58% เมื่อผันแปรค่า pH (6, 7 และ 8) ของอาหาร LB เพื่อหา pH ที่เหมาะสมต่อประสิทธิภาพในการยับยั้ง P. oryzae ผลที่ได้พบว่าน้ำเลี้ยงเชื้อที่ปราศจาก เซลล์ของแบคทีเรียทั้ง 3 สายพันธุ์ที่เลี้ยงในอาหาร LB ที่ค่า pH เท่ากับ 7 มีเปอร์เซ็นต์ยับยั้งสูงที่สุด โดย น้ำเลี้ยงเชื้อที่ปราศจากเซลล์ของแบคทีเรียสายพันธุ์ M25 แสดงความสามารถในการยับยั้ง P. oryzae สูง ที่สุด โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งที่ 67.92% รองลงมาคือ สายพันธุ์ M26 โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง 60.42% และสายพันธุ์ M23 โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง 59.17% จากผลการทดลองของงานวิจัยในครั้ง นี้ทำให้ได้แบคทีเรีย 3 สายพันธุ์ที่มีความสามารถสูงในการยับยั้ง P. oryzae ที่ก่อโรคไหม้ในข้าว และ ทราบถึงภาวะเบื้องต้นที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในยับยั้งรา โดยแสดงให้เห็นว่าแบคทีเรียทั้งสามมีศักยภาพที่ จะพัฒนาไปเป็นสารควบคุมชีวภาพ เพื่อนำไปใช้ควบคุมโรคไหม้ในข้าวได้จริงในอนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aims to find antagonistic bacteria that have ability to inhibit Pyricularia oryzae, the causal agent of rice blast disease. Ten bacterial strains isolated from soil and sea water from previous research were tested for their antifungal abilities using dual culture method. The results showed that strains M23, M25 and M26 were the top three bacteria that showed the highest percentage of inhibition against P. oryzae with 48.33, 50.00 and 55.00% inhibition, respectively. Thereby, these three bacterial strains were selected for evaluating of their antifungal abilities using cell-free supernatant. The results found that cell-free supernatant of strain M25 had the highest antifungal ability with 54.07% inhibition, followed by strain M26 with 45.53% inhibition and strain M23 with 36.58% inhibition. These 3 strains of bacteria were subjected for optimization to find the suitable growth condition of the bacteria to increase the inhibition efficiency. Among the cultures media tested which were Luria-Bertani (LB), Nutrient Broth (NB) and Tryptic Soy Broth (TSB), it was found that LB medium gave the highest inhibition efficiency. By culturing in LB, cell-free supernatant of strain M25 had the highest antifungal ability with 54.07% inhibition, followed by strain M26 with 45.53% inhibition and strain M23 with 36.58% inhibition. Upon varying pH (6, 7 and 8) of LB medium to find optimal pH to inhibit P. oryzae, it was found that cell-free supernatant of all 3 bacterial strains cultured in LB medium with pH 7 had the highest percentage of inhibition. The strain M25 showed the highest percentage of inhibition with 67.92%, followed by strain M26 with 60.42% and strain M23 with 59.17%. The results of this project revealed 3 bacterial strains with superior antifungal activity against P. oryzae which is the causal agent of rice blast disease, and revealed the growth condition of bacteria that improved their antifungal activities. These bacterial strains have potential to be developed into a biological agent for biocontrol of rice blast in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ข้าว -- โรคและศัตรูพืช | en_US |
dc.subject | เชื้อรา | en_US |
dc.subject | Rice -- Diseases and pestsRice | en_US |
dc.subject | Fungi | en_US |
dc.title | แอนตาโกนิสติกแบคทีเรียเพื่อยับยั้ง Pyricularia oryzae ที่ก่อโรคใหม่ในข้าว | en_US |
dc.title.alternative | Antagonistic bacteria against Pyricularia oryzae, the causal agent of rice blast disease | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-MICRO-011 - Thanapon Kunlawatwimon.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.