Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ เดี่ยววาณิชย์-
dc.contributor.advisorวรินทร ชวศิริ-
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ แซ่ตั่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-14T06:50:35Z-
dc.date.available2022-06-14T06:50:35Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78787-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractผีเสื้อหนอนหัวดำมะพร้าว (Opisina arenosella walker) เป็นแมลงศัตรูมะพร้าวที่สร้างความเสียหายอย่างหนักแก่เกษตรกรไทยตั้งแต่ปี 2553 ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน วิธีการควบคุมจำนวนผีเสื้อหนอนหัวดำมะพร้าวที่เกษตรกรนิยมใช้ในปัจจุบัน คือ การใช้สารเคมี ซึ่งสารเคมีที่ใช้มักจะส่งผลเสียต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น แมลงศัตรูธรรมชาติ และสัตว์ขาปล้องชนิดอื่น งานวิจัยครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการยับยั้งการกินอาหารของน้ำมันหอมระเหยจากกะเพรา (Ocimum sanctum) ที่สกัดด้วยวิธี hydrodistillation ต่อหนอนหัวดำมะพร้าวในระยะ 2 และ 3 โดยน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้ถูกเจือจางด้วย 95% เอทานอล ให้มีความเข้มข้น 10%, 20% และ 30% (W/V) เพื่อใช้เป็นชุดทดสอบ ผลการทดสอบใน 24 ขั่วโมง พบว่า น้ำมันหอมระเหยทั้ง 3 ความเข้มข้นสามารถยับยั้งการกินของหนอนหัวดำมะพร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยน้ำมันหอมระเหยความเข้มข้น 20% และ 30% สามารถยับยั้งการกินอาหารของหนอนทั้ง 2 ระยะ 100% และน้ำมันหอมระเหยความเข้มข้น 10% สามารถยับยั้งการกินอาหารของหนอนระยะที่ 2 และ 3 ได้ 99.67% และ 100% ตามลำดับ นอกจากนี้น้ำมันหอมระเหยยังสามารถออกฤทธิ์ฆ่าตัวหนอนได้ดีอีกด้วย การศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าน้ำมันหอมระเหยจากกะเพรา (O. sanctum) สามารถใช้สำหรับการจัดการควบคุมจำนวนหนอนหัวดำมะพร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeCoconut black-headed caterpillar; Opisina arenosella Walker is a major coconut palm pest that cause severe damage to Thai coconut farmer from 2010 to the present. Chemical insecticides are mostly used to control O. arenosella. However, this method can be toxic to other organisms including beneficial insects and non-target arthropods. The aim of this study was to evaluate the antifeedant activity of volatile oil from Ocimum sanctum against 2nd and 3rd instar larvae of O. arenosella. The volatile oil from fresh leaves was extracted by hydrodistillation and diluted with 95% ethanol to 10%, 20% and 30% (W/V). After 24 hours, the results showed high antifeedant activity against both instars of O. arenosella Walker. The 20% and 30% volatile oil resulted in antifeedant rates of 100% and the 10% volatile oil showed 99.67% and 100% of antifeedant activity against 2nd and 3rd instar larvae, respectively. In addition, the volatile oil also showed the high toxicity against 2nd and 3rd instar larvae. This study demonstrated the potential of volatile oil from O. sanctum as alternative method for management of the Coconut black-headed caterpillar.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผีเสื้อหนอนหัวดำมะพร้าวen_US
dc.subjectแมลงศัตรูพืช -- การควบคุมen_US
dc.subjectน้ำมันหอมระเหยen_US
dc.subjectOpisina arenosella walkeren_US
dc.subjectInsect pests -- Controlen_US
dc.subjectEssences and essential oilsen_US
dc.titleประสิทธิภาพการยับยั้งการกินอาหารของน้ำมันหอมระเหยจากกะเพราต่อหนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Walker (Lepidoptera)en_US
dc.title.alternativeAntifeedant activity of volatile oil from Ocimum sanctum against larvae of Opisina arenosella Walker (Lepidoptera)en_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-BIO-032 - Surasak Saetun.pdf957.83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.