Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78841
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกวัล ลือพร้อมชัย-
dc.contributor.authorรวีวิชญ์ ตาคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-16T04:28:03Z-
dc.date.available2022-06-16T04:28:03Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78841-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractสารลดแรงตึงผิวชีวภาพ (biosurfactants) ที่ผลิตขึ้นจากจุลินทรีย์จัดว่ามีความปลอดภัย ย่อยสลายทาง ชีวภาพได้ มีความเป็นพิษต่ำ และมีประสิทธิภาพภายใต้พีเอชและอุณหภูมิที่หลากหลาย อย่างไรก็ตามการผลิตสาร ลดแรงตึงผิวชีวภาพยังมีข้อจำกัดด้านต้นทุนการผลิตที่สูง งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์ที่จะนำน้ำมะพร้าวที่เป็นผล พลอยได้จากอุตสาหกรรมผลิตกะทิมาใช้ผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากยีสต์ Meyerozyma guilliermondii สายพันธุ์ CCN-6 แบบเซลล์ตรึง ซึ่งทำให้ไม่เสียเวลาในการเตรียมเชื้อ และสามารถเพิ่มผลผลิตสารลดแรงตึงผิว ชีวภาพได้ โดยในเบื้องต้นงานวิจัยนี้ใช้อาหารเลี้ยงเชื้อ Bushnell Haas (BH) ที่มีกลูโคสร้อยละ 10 โดยน้ำหนักต่อ ปริมาตร พบว่า ระยะเวลา 5 วัน มีความเหมาะสมสำหรับการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพ โดยมีผลผลิตสารลด แรงตึงผิวชีวภาพสูงสุดที่ 0.71 กรัมต่อลิตร และการเติมน้ำมันถั่วเหลือง และกลูโคส ทำให้ผลผลิตสารลดแรงตึงผิว ชีวภาพเพิ่มขึ้นเป็น 2.73 กรัมต่อลิตร ต่อมาได้คัดเลือกสูตรอาหารที่มีน้ำมะพร้าวเป็นองค์ประกอบหลัก โดย เปรียบเทียบอาหารสูตรต่างๆ คือ น้ำมะพร้าวอย่างเดียว น้ำมะพร้าวที่เติมน้ำมันถั่วเหลืองร้อยละ 2 โดยปริมาตร ต่อปริมาตร และน้ำมะพร้าวที่เติมกลีเซอรอลร้อยละ 10 โดยปริมาตรต่อปริมาตร พบว่า ชุดทดลองที่ใช้น้ำมะพร้าว ที่เติมน้ำมันถั่วเหลืองมีประสิทธิภาพเหมาะแก่การนำมาผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพมากที่สุด โดยผลิตสารลดแรง ตึงผิวภาพได้ 2.03 กรัมต่อลิตร และเมื่อทำการผลิต 2 รอบ มีปริมาณสารลดแรงตึงผิวชีวภาพรวมสูงสุดเป็น 4.35 กรัมต่อลิตร แสดงว่า M. guilliermondii สามารถใช้องค์ประกอบภายในน้ำมะพร้าว และน้ำมันถั่วเหลืองเป็น แหล่งคาร์บอนในการเจริญและผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพได้สารลดแรงตึงผิวชีวภาพนี้มีประสิทธิภาพในการ กระจายคราบน้ำมันดิบชนิด BKC และ ARL เป็นร้อยละ 72 และร้อยละ 26 ตามลำดับ ในงานวิจัยนี้พบว่า ประสิทธิภาพของสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจาก M. guilliermondii จะน้อยกว่าสารลดแรงตึงผิวสังเคราะห์ Triton X-100 ที่ความเข้มข้น 1.5 กรัมต่อลิตร เท่ากัน ดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดแรงตึงผิว ควรผสมสารลด แรงตึงผิวชีวภาพชนิดนี้กับสารลดแรงตึงผิวชีวภาพชนิดอื่น นอกจากนี้ควรศึกษาโครงสร้างของสารลดแรงตึงผิว ชีวภาพ เพื่อประโยชน์สำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeBiosurfactants produced by microorganisms are biodegradable, low toxicity and effective under a wide range of pH and temperature. However, the production of biosurfactants is limited due to its high cost of production. This research aims to utilize coconut water, a byproduct from coconut milk industry for biosurfactant production by the immobilized Meyerozyma guilliermondii CCN-6, an ascomycetous yeast. Initially, this research used Bushnell Haas (BH) medium with 10% glucose. The results showed that the biosurfactant production period of 5 days was suitable with the maximum biosurfactant yield at 0.71 g/L. When soybean oil and glucose was added, the biosurfactant yield was increased to 2.73 g/L. To select the production medium containing coconut water as the main component, the study compared different media including coconut water only, coconut water with 2% v/v soybean oil and coconut water with 10% v/v glycerol. The results revealed that coconut water with 2% v/v soybean oil was the most effective for biosurfactant production with 2.03 g/L biosurfactant yield, while the accumulated biosurfactant yield after 2 production cycles was 4.35 g/L. Thus, M. guilliermondii used the components in coconut water and soybean oil as carbon source for growth and biosurfactant production. This biosurfactant was effective in dispersing BKC and ARL crude oil at 72% and 26% respectively. In this study, the efficiency of biosurfactant from M. guilliermondii was less than Triton X-100, a synthetic surfactant at the same concentrations of 1.5 g/L. To increase its efficiency on reducing surface tension, this biosurfactant should be mixed with other biosurfactants. In addition, the structure of biosurfactants should be studied for further application in various industries.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารลดแรงตึงผิวชีวภาพen_US
dc.subjectน้ำมะพร้าวen_US
dc.subjectBiosurfactantsen_US
dc.subjectCoconuten_US
dc.titleการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจาก Meyerozyma guilliermondii สายพันธุ์ CCN-6 แบบเซลล์ตรึงโดยใช้น้ำมะพร้าวเป็นแหล่งอาหารen_US
dc.title.alternativeProduction of biosurfactants by immobilized Meyerozyma guilliermondii CCN-6 using coconut water as carbon sourceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MICRO-017 - Ravewish Takham.pdf42.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.