Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัญชริดา สวารชร-
dc.contributor.authorภัทราทิพย์ คล่องแคล่ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-20T01:59:43Z-
dc.date.available2022-06-20T01:59:43Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78869-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractการผลิตน้ำมันของยีสต์ Cyberlindnera subsufficiens NG 8.2 จากไฮโดรไลเสตแป้งมันสำปะหลัง เมื่อ เติมสารอาหารรอง (MgSO₄, NaCl, CaCl₂) การปรับอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนเป็น 1:1,664 ด้วยสารสกัด จากยีสต์ และ peptone ให้ผลผลิตน้ำมันมากกว่าการปรับอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนด้วยสารสกัดจากยีสต์ และ (NH₄)₂SO₄ หรือสารสกัดจากยีสต์ และ KNO₃ แต่น้อยกว่าการปรับอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนด้วย peptone เพียงอย่างเดียว ไม่พบความแตกต่างของผลผลิตน้ำมันระหว่าง การใช้ peptone และ polypeptone แต่ถ้าไม่เติมสารอาหารรอง การปรับอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนเป็น 1:1,664 ด้วยสารสกัดจากยีสต์เพียง อย่างเดียวได้ผลผลิตน้ำมันสูงที่สุด (2.28 กรัม/ลิตร) สูงกว่าเติมสารอาหารรองและการปรับอัตราส่วนคาร์บอนต่อ ไนโตรเจนด้วย peptone (1.67 กรัม/ลิตร) หรือสารสกัดจากยีสต์ และ peptone (1.53 กรัม/ลิตร) จากผลการ ทดลองข้างต้นสรุปได้ว่าการผลิตน้ำมันของยีสต์ Cyberlindnera subsufficiens NG 8.2 จากไฮโดรไลเสตแป้งมัน สำปะหลังนั้นไม่จำเป็นต้องเติมสารอาหารรอง โดยสารสกัดจากยีสต์ เป็นแหล่งไนโตรเจนที่เหมาะสมสำหรับใช้ปรับ อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนในการเพิ่มผลผลิตน้ำมันen_US
dc.description.abstractalternativeCyberlindnera subsufficiens NG 8.2 oil production from cassava starch hydrolysate supplemented with micronutrients (MgSO₄, NaCl, CaCl₂) and carbon-nitrogen ratio adjusted to 1:1,664 by yeast extract and peptone yielded higher oil yield than yeast extract and (NH₄)₂SO₄ or yeast extract and KNO₃, but lower oil yield than peptone. There was no difference of oil yield when peptone or polypeptone was used. The highest oil yield was obtained from cassava starch hydrolysate without supplementation of micronutrients and carbon-nitrogen ratio adjusted to 1:1,664 by yeast extract (2.28 g/l). The oil yield was higher than using of peptone (1.67 g/l) or yeast extract and peptone (1.53 g/l) to adjust carbon- nitrogen ratio of cassava starch hydrolysate supplemented with micronutrients. Based on these results, production of Cyberlindnera subsufficiens NG 8.2 oil from cassava starch hydrolysate did not require micronutrients supplementation. Yeast extract was optional nitrogen source for carbon-nitrogen ratio adjustment to increase oil yield.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectยีสต์en_US
dc.subjectไนโตรเจนen_US
dc.subjectแป้งมันสำปะหลังen_US
dc.subjectYeasten_US
dc.subjectNitrogenen_US
dc.subjectTapioca starchen_US
dc.titleผลของแหล่งไนโตรเจนต่อการผลิตน้ำมันของยีสต์ Cyberlindnera subsufficiens NG 8.2 จากไฮโดรไลเสตแป้งมันสำปะหลังen_US
dc.title.alternativeEffect of Nitrogen Source on Cyberlindnera subsufficiences NG 8.2 Oil Production from Cassava Starch Hydrolysateen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-MICRO-025 - Pattrathip Klongklaeo.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.