Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78892
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorChenphop Sawangmake-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science-
dc.date.accessioned2022-06-21T06:51:46Z-
dc.date.available2022-06-21T06:51:46Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78892-
dc.description.abstractIn this study, trend of stem cell-based treatment for diabetes type 1 in veterinary practice has been preliminarily investigated. Production of pancreatic lineages by canine bone marrow-derived mesenchymal stem cells (cBM-MSCs) using genetic manipulation approach has been studied. Transfection efficiency of second-generation lentiviral vector on cBM-MSCs employing “pLenti CMV GFP Puro (658-5)” (Addgene plasmid #17448) was investigated and the results suggested the susceptibility of the cell to such transfection. Further study was performed to evaluate the efficiency of PDX1 transfection on cBM-MSCs, focusing on cell fate after transfection. The lentiviral vector containing “pWPT-PDX1 plasmid” (Addgene plasmid # 12256) was used. The multiplicity of infection (MOI) 20, 30, and 50 were employed. The results illustrated that PDX-1 transfection could enhance dose- and time-dependent cell morphological change toward colony-like structure. Some of pancreatic gene markers were also upregulated. Upon the induction by modified three-dimension (3D) micro-environmental manipulating protocol, “hanging drop-culture technique” and “hanging-drop culture technique with Matrigel-formed dome culture technique” could effectively enhance pancreatic differentiation by cBM-MSCs. Further study on integrating hanging drop-cell culture technique with genetic manipulation illustrated that cBM-MSCs could be differentiated toward pancreatic lineage with dramatic expression of pancreatic mRNA markers. Thus, this study demonstrated that cBM-MSCs could be used as the source of pancreatic lineage derivation by using integration of genetic and microenvironmental manipulating protocol in vitroen_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาเบื้องต้นในการพัฒนาแนวทางการรักษาโรคเบาหวานด้วยเซลล์ต้นกำเนิดในทางสัตวแพทย์ โดยมีจุดมุ่งหมายในการสร้างกลุ่มเซลล์ตับอ่อนจากเซลล์ต้นกำเนิดมีเซนไคม์จากไขกระดูกของสุนัขโดยการใช้วิธีการควบคุมด้านพันธุกรรม ในการทดสอบประสิทธิภาพในการนำส่งชิ้นส่วนพันธุกรรมโดยเลนติไวรัสรุ่นที่ 2 สู่เซลล์ อาศัยการแสดงออกของโปรตีนเรืองแสงสีเขียว (pLenti CMV GFP Puro (658-5) Addgene plasmid #17448) ผลการทดสอบพบว่าเซลล์ต้นกำเนิดมีเซนไคม์จากไขกระดูกของสุนัขสามารถรับการส่งชิ้นส่วนพันธุกรรมดังกล่าวได้ และสำหรับการทดสอบการส่งชิ้นส่วนพันธุกรรมของยีนพีดีเอ็กซ์ 1 นั้น อาศัยพลาสมิด pWPT-PDX1 plasmid (Addgene plasmid # 12256) ที่ MOI 20 30 และ 50 ผลการศึกษาพบว่าเซลล์มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะคล้ายโคโลนี โดยเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นอยู่กับความแรงของ MOI และช่วงเวลาในการเหนี่ยวนำ และมีการเปลี่ยนแปลงของยีนที่จำเพาะต่อเบต้าเซลล์ นอกจากนี้การเหนี่ยวนำด้วยวิธีการควบคุมสิ่งแวดล้อมที่ได้ปรับปรุงขึ้นมาใหม่ พบว่าเทคนิคการเลี้ยงกลับหัว และการเลี้ยงในโดม สามารถเหนี่ยวนำให้เซลล์เปลี่ยนแปลงสู่เซลล์ตับอ่อนได้ การศึกษาต่อเนื่องพบว่าเทคนิคการเลี้ยงกลับหัวร่วมกับการดัดแปลงพันธุกรรม สามารถเหนี่ยวนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่เซลล์ตับอ่อนและการแสดงออกของยีนที่จำเพาะต่อเซลล์ตับอ่อนในระดับสูง ดังนั้น การศึกษานี้จึงแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการสร้างเซลล์ตับอ่อนจากเซลล์ต้นกำเนิดมีเซนไคม์จากไขกระดูกของสุนัขโดยการใช้วิธีการควบคุมด้านพันธุกรรมร่วมกับการวิธีการควบคุมสิ่งแวดล้อมที่ได้ปรับปรุงขึ้นมาใหม่en_US
dc.description.sponsorshipThis research is funded by Chulalongkorn Universityen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectMesenchymal stem cellsen_US
dc.subjectPancreas -- Regenerationen_US
dc.titleDevelopment of genetic manipulation approach for in vitro production of islet-like cell cluster (ILCCs) or insulin-producing cells (IPCs) from canine bone marrow-derived mesenchymal stem cells (cBM-MSCs)en_US
dc.title.alternativeรายงานโครงการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การพัฒนาวิธีการควบคุมด้านพันธุกรรมในห้องปฏิบัติการสำหรับการสร้างกลุ่มเซลล์ที่เหมือนไอเล็ทหรือเซลล์สังเคราะห์อินซูลินจากเซลล์ต้นกำเนิดมีเซนไคม์จากไขกระดูกสุนัขen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาวิธีการควบคุมด้านพันธุกรรมในห้องปฏิบัติการสำหรับการสร้างกลุ่มเซลล์ที่เหมือนไอเล็ทหรือเซลล์สังเคราะห์อินซูลินจากเซลล์ต้นกำเนิดมีเซนไคม์จากไขกระดูกสุนัขen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vet_Chenphop Sawangmake_2019.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.