Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.authorดัลลัชวรรณ สีตลพฤกษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-22T06:04:07Z-
dc.date.available2022-06-22T06:04:07Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78908-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractจังหวัดกาญจนบุรีประกอบไปด้วย หินตะกอน หินแปร และตะกอนหลากหลายชนิด ซึ่งสะสมตัวตั้งแต่ ยุคพรีแคมเบรียนจนถึงยุคควอเทอร์นารี เป็นส่วนหนึ่งของแผ่นจุลทวีปฉานไทย ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของมหาทวีป กอนด์วานา โดยหินยุคพรีแคมเบรียนในประเทศไทยมีการระจายตัวอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นภูเขา เช่น เขาชนไก่ เขาดิน เขาเสือ โดยเขาเม็งก็ตั้งอยู่ในแนวหินพรีแคมเบรียนนี้เช่นเดียวกัน โครงการนี้จึงมุ่งศึกษาธรณีวิทยาบริเวณ เข้าเม็ง และทำการสำรวจภาคสนาม เก็บข้อมูลและตัวอย่างหินมาจากจุกศึกษาที่อยู่ในบริเวณเขาเม็งทั้งหมด 3 จุด โดยจุดที่ 1 และ 2 ที่อยู่ตอนบนของเขามีลักษณะคล้ายกันมาก จากการศึกษาลักษณะภายนอกและแผ่นหินบาง พบว่าเป็นหินควอตซ์ไซต์ มีการเรียงตัวของเม็ดแร่ในแนว ตะวันตกเฉียงเหนือ – ตะวันออกเฉียงใต้ และลักษณะ การเชื่อมกันแบบ triple junction บ่งบอกการถูกแปรสภาพ ส่วนจุดศึกษาที่ 3 อยู่ตอนล่างของเขาพบเป็นหินไนส์ ที่มีผลึกดอกเป็นเฟลด์สปาร์ ทั้ง 3 จุดพบลักษณะโครงสร้างเชิงเส้นในแนว ตะวันตกเฉียงเหนือ – ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งบ่งบอกถึงทิศทางความเค้นหลักในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ – ตะวันตกเฉียงใต้ สอดคล้องกับเหตุการณ์การ ก่อเทือกเขาอินโดซิเนียนที่แผ่นจุลทวีปฉานไทยและอินโดจีนชนกันในช่วงปลายยุคไทรแอสซิก รวมไปถึงอาจเกิด จากการเฉือนการในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ – ตะวันออกเฉียงใต้จากเหตุการณ์การก่อเทือกเขาหิมาลัยที่แผ่น อินเดียชนกับแผ่นยูเรเซีย โดยหินต้นกำเนิดเป็นหินทรายและหินแกรนิตตามลำดับ ที่มีการสะสมตัวกันอยู่ก่อนแล้ว และผ่านกระบวนการความร้อนและความดันเรื่อยมาจนถูกแปรสภาพen_US
dc.description.abstractalternativeKanchanaburi province consists of sedimentary rocks, metamorphic rocks, igneous rocks and various sediments. Which accumulated from the Pre-Cambrian era to the Quarters It is part of the Shan-Thai microscopic plate. Which used to be part of the great continent of Gondwana The Precambrian rocks in Thailand have spread in the mountainous terrain. The Precambian rock in Thailand has spread in mountainous terrain such as Khao Chon Kai, Khao Din, Khao Sua, and Khao Meng is also located in the Precambrian rock Thailand. This project aims to study the geology of the Khao Meng area. And conduct field surveys. The data and rock samples were collected from the study area located in Khao Meng, three station. Station 1 and 2 at the top are very similar. From the appearance character and thin section, it’s quartzite. The third study point are at the bottom found gneiss with porphyritic texture. All 3 points, the lineation structure was found in the line Northwest - southeast Which indicates the direction of the main stress in the northeast-southwest that represents to the Indosinian orogeny event where the Shan-Thai and Indochina microscopic plates collide in the late Triassic. It may also be caused by shear in the north-southeast direction from the Himalayan orogeny event where the Indian Plate collided with the Eurasian Plate. The origin rocks are sandstone and granite, respectively. That has accumulated and undergoing heat and pressure processes until being transformed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีวิทยา -- ไทย -- กาญจนบุรีen_US
dc.subjectเขาเม็ง (กาญจนบุรี)en_US
dc.subjectGeology -- Thailand -- Kanchanaburien_US
dc.subjectKhao Meng (Kanchanaburi)en_US
dc.titleธรณีวิทยาบริเวณเขาเม็ง จังหวัดกาญจนบุรีen_US
dc.title.alternativeGeology of Khao Meng in Kanchanaburi provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-GEO-004 - Dunlatchawan Seetalapruek.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.