Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกอบชัย ภัทรกุลวณิชย์-
dc.contributor.authorอารียา เลิศประสบสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-27T01:48:27Z-
dc.date.available2022-06-27T01:48:27Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78979-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractคาร์บอนเป็นหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญในการเจริญของสิ่งมีชีวิตแหล่งคาร์บอนที่ต่างชนิดกันส่งผลให้มีพฤติกรรมในการเจริญที่แตกต่างกัน แบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วงแดงแบบไม่สะสมกำมะถัน (Purple non-sulfur bacteria; PNSB) เป็นหนึ่งในแบคทีเรียที่มีเมแทบอลิซึมที่หลากหลายและสามารถใช้แหล่งคาร์บอนได้หลายชนิด PNSBสามารถผลิตรงควัตถุแคโรทีนอยด์และแบคเทอริโอคลอฟิลล์เมื่อเจริญแบบ photoheterotroph ในภาวะที่มีแสงและไม่มีอากาศ ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญซึ่งส่งผลให้มีการสร้างรงควัตถุที่แตกต่างกันคือแหล่งคาร์บอน ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงสนใจที่จะศึกษาผลของแหล่งคาร์บอนชนิดต่างๆต่อการผลิตแบคเทอริโอคลอโรฟิลล์และแคโรทีนอยด์ของ Rhodopseudomonas palustris AS85 ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าอาหารที่ใช้ซัคซิเนตเป็นแหล่งขอคาร์บอนที่ส่งผลให้มีการเจริญของ R. palustris AS85 ที่ดีที่สุด โดยมีค่า OD₆₆₀ และ cell dry-weight สูงที่สุดเท่ากับ 7.47±0.23 และ 1.8±0.01 มก./มล. ตามลำดับ ในวันที่ 5 ของการเลี้ยงเชื้อ และเมื่อใช้อาหารที่มีอะซีเทตเป็นแหล่งของคาร์บอนและผลิตแคโรทีนอยด์และแบคเทอริโอคลอโรฟิลล์ได้สูงที่สุด โดยมีปริมาณแคโรทีนอยด์เท่ากับ 3.101±0.136 mg/g นำหนักแห้งเซลล์ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าซัคซิเนตเป็นแหล่งคาร์บอนที่เหมาะสมต่อการเจริญและอะซีเทตเป็นแหล่งคาร์บอนที่เหมาะสมต่อการสร้างรงควัตถุของ R. palustris AS85en_US
dc.description.abstractalternativeCarbon source is one of the most important factors in the growth of living organisms. Different carbon sources may result in different growth behaviors. Purple non-sulfur bacteria (PNSB) are bacteria with versatile metabolic mode and can use a variety of carbon sources for growth. PNSB can produce pigments including carotenoids and bacteriachlorophyll when photoheterotrophic grown under light and anaerobic conditions. One important factor affecting pigment production is carbon source. Therefore, in this research, we are interested in investigating the effects of different carbon sources on pigment production of pigment of Rhodopseudomonas palustris AS85. The results revealed that succinate was the best carbon source that resulted in the optimal growth of R. palustris AS85, with the highest OD₆₆₀ and cell dry-weight values of 7.47 ± 0.23 and 1.8 ± 0.1 mg / mL respectively on day 5 of cultivation. High content of carotenoids and bacteriochlorophyll were obtained when using acetate as a carbon source with carotenoids content of 3.101 ± 0.136 mg / g cell dry- weight. Therefore, it can be concluded that succinate is a suitable carbon source for growth and acetate is a suitable carbon source for the pigment production of R. palustris AS85.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคาร์บอนen_US
dc.subjectแบคทีเรียสังเคราะห์แสงen_US
dc.subjectCarbonen_US
dc.subjectPhotosynthetic bacteriaen_US
dc.titleผลของแหล่งคาร์บอนต่อการผลิต Bacteriochlorophyll และ Carotenoid ของ Rhodopseudomonas palustris AS85en_US
dc.title.alternativeEffect of carbon sources on carotenoid and bacteriochlorophyll production by Rhodopseudomanas palustris AS85en_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MICRO-020 - Areeya Lertprasopsuk.pdf26.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.