Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวุฒิชัย เหรียญทิพยะสกุล-
dc.contributor.authorศุภลักษ์ คุรุปัญญา-
dc.contributor.authorอัญธิกา บุญเรืองอนันต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-18T01:28:15Z-
dc.date.available2022-07-18T01:28:15Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79277-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพอลิเมอร์และสิ่งทอ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractการสังเคราะห์ nitrogen-doped titanium dioxide ด้วยกระบวนการโซล-เจล โดยใชL titanium isopropoxide เป็น Ti-source และใช้ urea เป็น N-source ที่มีเงื่อนไขการสังเคราะห์ที่ต่างกัน คือ การคน ด้วยแท่งแม่เหล็ก (magnetic stirrer) และการสั่นด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (bath sonication) พบว่าการใช้ คลื่นเสียงความถี่สูงจะช่วยทำให้ได้อนุภาคที่มีพื้นที่ผิวจำเพาะสูงมากกว่า มีขนาดและปริมาตรของรูพรุนที่ ใกล้เคียงกับการคนด้วยแท่งแม่เหล็ก โดยตรวจสอบได้จากเทคนิค Brunauer-Emmett-Teller (BET) ในขณะ ที่การเผาอนุภาคที่สังเคราะห์ได้ที่อุณหภูมิต่างกัน คือ 200, 400 และ 600 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง และตรวจสอบลักษณะเฉพาะของตัวอย่างที่เตรียมได้ด้วยเทคนิค X-ray diffraction analysis (XRD) และ เทคนิค Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FT-IR) พบว่าสารที่ผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูงขึ้นจะทำ ให้อนุภาคมีโครงสร้างผลึกเป็น Anatase แต่การเผาที่อุณหภูมิสูงเกินไป N-atom จะถูก oxidized ออกจาก โครงสร้าง จากการทดลองพบว่าอุณหภูมิการเผาที่เหมาะสมที่สุดเพื่อให้ได้อนุภาค nitrogen-doped titanium dioxide คือ 400 องศาเซลเซียส ซึ่งอนุภาคที่สังเคราะห์ได้น่าจะมีศักยภาพในการเป็นสารเร่ง ปฏิกิริยาเชิงแสงในช่วงแสงที่ตามองเห็นได้เป็นอย่างดีen_US
dc.description.abstractalternativeNitrogen-doped titanium dioxide was prepared successfully by sol- gel process using titanium isopropoxide as a Ti-source and urea as a N-source with magnetic stirrer or bath sonication. According to Brunauer-Emmett-Teller (BET) surface area analysis, it was found that the use of high-frequency sonication could facilitate to obtain particles with higher specific surface area and similar pore size and pore volume, compared to the particles prepared by using magnetic stirring. In addition, effects of calcination temperature at 200, 400, and 600 °C for 2 hours on phase and composition of the particles were characterized by X-ray diffraction (XRD) and fourier transform infrared spectroscopy (FT-IR). They revealed that calcination at higher temperatures resulted in anatase-phase crystal structure and calcination at too high temperatures could demolish N-atoms from crystal structure by oxidation. It was found that the optimum calcination temperature to prepare nitrogen-doped titanium dioxide particles was 400 °C. The synthetic particles would have the potential to be photocatalysts under the visible light.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไทเทเนียมไดออกไซด์ -- การสังเคราะห์en_US
dc.subjectการเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงen_US
dc.subjectTitanium dioxide -- Synthesisen_US
dc.subjectPhotocatalysisen_US
dc.titleการสังเคราะห์ Nitrogen-doped Titanium Dioxide โดยกระบวนการ Sol-gel เพื่อใช้เป็นสารเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงen_US
dc.title.alternativeSynthesis of Nitrogen-doped Titanium Dioxide by Sol-gel Process for using as photocatalystsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MATSCI-007 - Supaluck Kurupanya.pdf572.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.