Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79317
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีมา มัลลิกะมาศ-
dc.contributor.authorนวณัฐ ปิ่นอ่อน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-21T08:20:48Z-
dc.date.available2022-07-21T08:20:48Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79317-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอประมวลศัพท์เรื่องการสำรวจทางเทคนิคในการเก็บกู้ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม ซึ่งประกอบด้วยศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสาขา ประเภทการสำรวจ และการสำรวจทางเทคนิคในการเก็บกู้ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม การศึกษาขั้นตอนการจัดทำประมวลศัพท์เฉพาะทางจะนำไปสู่การจัดทำเอกสารอ้างอิงสำหรับผู้ปฏิบัติงานในสายงานนี้ อีกทั้งยังจะเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดทำประมวลศัพท์ในสายงานการทหารต่อไป การทำประมวลศัพท์ฉบับนี้ได้ศึกษาและประยุกต์ทฤษฎี หลักการ และวิธีการจัดทำประมวลศัพท์ที่นักศัพทวิทยาหลายท่านได้เสนอไว้ มีขั้นตอนการดำเนินงาน 5 ขั้นตอน คือ 1) การกำหนดหัวข้อและขอบเขตที่ต้องการศึกษา 2) การรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ต้องการนำมาศึกษา 3) การสร้างคลังข้อมูลภาษาจากเอกสารที่รวบรวมและคัดเลือกมา พร้อมกับการดึงศัพท์ที่ต้องการศึกษา 4) การกำหนดมโนทัศน์สัมพันธ์ของชุดศัพท์ที่ทำการศึกษา และ 5) การบันทึกข้อมูลศัพท์เบื้องต้น การบันทึกข้อมูลศัพท์ และการกำหนดศัพท์เทียบเคียงพร้อมนิยามในภาษาไทย ประมวลศัพท์เรื่องการสำรวจทางเทคนิคในการเก็บกู้ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรมทำการศึกษาศัพท์จำนวน 31 คำ โดยจัดเรียงตามกลุ่มมโนทัศน์สัมพันธ์ที่ปรากฏ รายละเอียดของศัพท์แต่ละคำจะประกอบด้วยศัพท์ภาษาอังกฤษและศัพท์ภาษาไทย ชนิดของคำ สาขา มโนทัศน์สัมพันธ์ของศัพท์ บริบทที่พบศัพท์ ลักษณะเฉพาะทางภาษา และข้อมูลประกอบอื่นๆen_US
dc.description.abstractalternativeThis special research's objective is to present terminology on technical survey in humanitarian demining which includes terms in demining fields, survey types, and technical survey. Studies on the process of specialized terminology will lead to the making of reference documents for those working in this field. Also, the work will serve as starting point for further terminologies in military field. This terminology is based on theories, methods, and process related in terminology works proposed by a number of terminologists as well as applying those aspects into practice. The process composes of these 5 steps of: 1) Defining the topic and scope of study 2) Collecting documents related to the study topic 3) Building corpus from the collected and selected documents and extracting terms from the corpus 4) Defining the terms' conceptual relations and 5) Preparing extraction records and terminological records as well as giving the terms equivalents and definition in Thai. Terminology on technical survey in humanitarian demining presents 31 terms ordered by their types of conceptual relations. Details for each term include its English and Thai terms, grammatical category, subject field, conceptual relation, context, linguistic specification, and additional details.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทุ่นระเบิด -- คำศัพท์en_US
dc.subjectศัพท์บัญญัติen_US
dc.subjectMines (Military explosives) -- Detection -- Terminologyen_US
dc.subjectExplosives -- Vocabularyen_US
dc.titleประมวลศัพท์เรื่องการสำรวจทางเทคนิคในการเก็บกู้ทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรมen_US
dc.title.alternativeTerminology on technical survey in humanitarian deminingen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการแปลและการล่ามen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPrima.M@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Navanat Pi_tran_2015.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.