Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79340
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นงนภัส เจริญพานิช | - |
dc.contributor.author | วารุณี กิจรักษา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T03:07:15Z | - |
dc.date.available | 2022-07-23T03:07:15Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79340 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกเสริมด้วยท่าดร็อปจั๊มพ์ที่มีต่อความหนาแน่นของมวลกระดูกในนักกีฬาบาสเกตบอลชาย อายุ 13-14 ปี และเพื่อศึกษาผลของการฝึกเสริมด้วยท่าดร็อปจั๊มพ์ที่มีต่อความสูงในการกระโดด กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาบาสเกตบอลชาย อายุ 13-14 ปี จำนวน 28 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 14 คน และกลุ่มควบคุม 14 คน กลุ่มทดลองทำการฝึกเสริมด้วยการกระโดดท่าดร็อปจั๊มพ์ก่อนการฝึกซ้อมปกติ บนกล่องสูง 45 เซนติเมตร ทำการกระโดดจำนวน 13 ครั้ง 5 เซต และพักระหว่างเซต 2 นาที ขณะที่กลุ่มควบคุมฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกบาสเกตบอลของทางโรงเรียน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ( purposive sampling) เพื่อให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 โรงเรียน และทำการแบ่งกลุ่มโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยการจับสลากว่าโรงเรียนใดเป็นกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 8 ทำการวัดความหนาแน่นของมวลกระดูก ปริมาณแร่ธาตุในกระดูก ด้วยเครื่อง Dual-energy X-ray absorptiometry (DEXA) และวัดความสูงในการกระโดด ด้วยชุดทดสอบการกระโดด Yardstick นำข้อมูลที่ได้มาทดสอบการกระจายตัวของข้อมูล โดยใช้สถิติ Kolmogorov-Smirnov test วิเคราะห์ทางสถิติโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการฝึก หากข้อมูลมีการกระจายตัวปกติ ใช้สถิติทดสอบแบบที (Paired t-test) แบบ repeated measured หากข้อมูลมีการกระจายตัวไม่ปกติ ใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks test และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม โดยหากข้อมูลมีการกระจายตัวปกติ วิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้สถิติทดสอบแบบที (Independent t-test) หากข้อมูลมีการกระจายตัวไม่ปกติ วิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้สถิติทดสอบ Mann-Whitney U test กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการวิจัยหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 8 พบว่า กลุ่มทดลอง มีความหนาแน่นของมวลกระดูก (BMD) ที่บริเวณ Femoral neck (Left) และปริมาณแร่ธาตุในกระดูก (BMC) ที่บริเวณ Femoral neck (Left) Femoral neck (Right) และ Vertical Jump Height เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่าทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าโปรแกรมการฝึกเสริมด้วยท่าดร็อปจั๊มพ์มีแนวโน้มพัฒนาความหนาแน่นของมวลกระดูก (BMD) ปริมาณแร่ธาตุในกระดูก (BMC) และ Vertical Jump Height ได้ดีกว่าก่อนการทดลอง | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to examine to the effects of supplementary drop jump training on bone mineral density in basketball players aged 13-14 years and this study was to examine to the effect of supplementary drop jump training on vertical jump height. Twenty-eight young male basketball players aged 13-14 years volunteered for this study. They were divided into two groups, the experimental group (n=14) trained twice a week of training, performed an additional practice with drop-jump. Before regular training on box 45 cm, perform 5 sets of drop jump 13 jumps and rest 2 minutes between sets before regular basketball training of school. Control group (n=14) performed a regular basketball training only. Purposive sampling was performed to obtain a sample of both schools and Simple random sampling is performed by drawing a lottery into which schools are experimental or control groups. Both groups participated in the 8 weeks. Bone mineral density (BMD; g/cm2), Bone mineral content (BMC; g) were assessed by dual-energy X-ray absorptiometry (DEXA), vertical Jump height were assessed by Yardstick. The data were obtained for testing the normal or non- normal curve distribution using the Kolmogorov-Smirnov test. The obtained data were analyzed in term of means, standard deviation. Pair sample T-test and the Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test was used to check the difference between before and after training. Independent t-test and Mann-Whitney U test was used to check the difference between the two groups. The results, after 8 weeks of training, Bone mineral density at Femoral neck (Left) and Bone mineral content at Femoral neck (Left), Femoral neck (Right) and Vertical Jump Height increased significantly (p < .05) more than before training. In addition, it was found that there was no difference in the two groups. Therefore, supplementary Drop Jump training program tended to improve Bone mineral density (BMD), Bone mineral content (BMC) and Vertical jump height better before the experiment. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.1015 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | บาสเกตบอล -- การฝึก | - |
dc.subject | การกระโดด -- การฝึก | - |
dc.subject | Basketball -- Training | - |
dc.subject | Jumping -- Training | - |
dc.subject.classification | Health Professions | - |
dc.title | ผลของการฝึกเสริมด้วยท่าดร็อปจั๊มพ์ที่มีต่อความหนาแน่นของมวลกระดูกในนักกีฬาบาสเกตบอลชาย อายุ 13-14 ปี | - |
dc.title.alternative | The effects of supplementary drop jump training on bone mineral density in basketball players aged 13-14 years | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2020.1015 | - |
Appears in Collections: | Spt - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6178412639.pdf | 2.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.