Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐนันท์ โกวิทวัฒนา-
dc.contributor.authorปวิตรา วุฒิกรวิภาค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-23T04:01:06Z-
dc.date.available2022-07-23T04:01:06Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79467-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความสำเร็จทางคลินิกและภาพรังสีของการรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมในฟันกรามน้ำนมล่างระหว่างคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนต และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ วิธีการศึกษา: ฟันกรามน้ำนมล่างผุลึกจำนวน 63 ซี่ จากเด็กอายุ 3-8 ปี จำนวน 38 คน ได้รับการคัดเข้างานวิจัย ฟันทุกซี่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีเนื้อเยื่อในโพรงฟันปกติหรือมีการอักเสบชนิดผันกลับได้ และจากภาพรังสีพบรอยผุลึกถึง 1 ใน 3 ของเนื้อฟันชั้นใน โดยได้รับการแบ่งกลุ่มแบบสุ่มเป็น 2 กลุ่ม เพื่อรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมด้วยคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตจำนวน 31 ซี่ และแคลเซียมไฮดรอกไซด์จำนวน 32 ซี่ ฟันทุกซี่ได้รับการบูรณะด้วยครอบฟันเหล็กไร้สนิม และติดตามผลทางคลินิกและภาพรังสีที่ระยะเวลา 6 เดือนหลังรักษา ผลการศึกษา: ฟันกรามน้ำนมล่างผุจำนวน 57 ซี่ จากเด็กจำนวน 32 คน ได้รับการตรวจติดตามผลทางคลินิกและภาพรังสีที่ระยะเวลา 6 เดือน พบว่ากลุ่มที่รักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมด้วยคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนต และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ให้ผลสำเร็จในการรักษาทางคลินิกและภาพรังสีเท่ากับร้อยละ 88.89 และ 86.67 ตามลำดับ โดยไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่ม สรุป: ผลสำเร็จในการรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมด้วยคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตให้ผลไม่แตกต่างกับแคลเซียมไฮดรอกไซด์-
dc.description.abstractalternativeObjective: To compare the clinical and radiographic success rate of indirect pulp treatment in lower primary molars between chlorhexidine gluconate and calcium hydroxide. Methods: Sixty-three lower primary molars with deep carious lesion from 38 healthy children, aged 3 to 8 years old, were recruited in this study. All the teeth were diagnosed as normal pulp or reversible pulpitis. From radiographic examination, radiolucency extends to the inner one-third of dentin. All the teeth were randomly divided into 2 groups for indirect pulp treatment: 2% chlorhexidine gluconate group (n=31) and calcium hydroxide (Dycal®) group (n=32). All the teeth were restored with stainless steel crown. Clinical and radiographic examination was evaluated 6 months after treatment. Results: Thirty-two children with 57 deep carious molars were followed up at 6-month recall for clinical and radiographic examination. Clinical and radiographic success rates of chlorhexidine gluconate and calcium hydroxide were 88.89 and 86.67 percent respectively. No statistically significant difference between the groups was observed (P>0.05). Conclusions: There were no difference in success rate of indirect pulp treatment between chlorhexidine gluconate and calcium hydroxide.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.809-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectทันตกรรมบูรณะ-
dc.subjectเนื้อเยื่อฟันอักเสบ-
dc.subjectฟันผุในเด็ก -- การป้องกัน-
dc.subjectDentistry, Operative-
dc.subjectPulpitis-
dc.subjectDental caries in children -- Prevention-
dc.subject.classificationDentistry-
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของการรักษาเนื้อเยื่อในโดยอ้อมในฟันกรามน้ำนมล่างระหว่างคลอร์เฮกซิดีนกลูโคเนตและแคลเซียมไฮดรอกไซด์: ศึกษาทางคลินิกที่ระยะเวลา 6 เดือน-
dc.title.alternativeComparison of success rate of indirect pulp treatment in lower primary molars between chlorhexidine gluconate and calcium hydroxide: a clinical study at 6 months-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็ก-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.809-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6075821032.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.