Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79551
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิติ สนับบุญ-
dc.contributor.authorจุฑามาศ ตันติประวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-23T04:15:37Z-
dc.date.available2022-07-23T04:15:37Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79551-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractที่มา ปัจจัยก่อนการตรวจหลายอย่างที่รบกวนทำให้ระดับพลาสมาเมตะเนฟรินมีค่าเปลี่ยนแปลง อย่างไรตาม การศึกษาผลของความเจ็บปวดหรือความเครียดขณะเจาะเลือดที่มีต่อระดับพลาสมาเมตะเนฟรินมีจำกัด วิธีการศึกษา ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ไม่เป็นความดันโลหิตสูงทั้งหมด 50 คน เปิดเส้นและใส่สายสวนหลอดเลือดดำที่ข้อพับแขนจากนั้นให้นอนราบ 30 นาที เก็บเลือดจากสายสวนหลอดเลือดดำที่คาไว้ ตามด้วยการเจาะเลือดจากเส้นเลือดดำในแขนอีกข้างในเวลาใกล้เคียงกัน วัดระดับความเจ็บปวดตอนเจาะเลือด ผลการวิจัย ระดับพลาสมาเมตะเนฟริน นอร์เมตะเนฟริน และ 3 เมทอกซีไทรามีนจากการเจาะเลือดดำโดยตรงมีค่าสูงกว่าการดูดเลือดจากสายสวนหลอดเลือดที่คาไว้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าเฉลี่ยความแตกต่างได้แก่ 4.73 (0.44 ถึง 9.02) pg/ml P-value 0.031 และ 2.28 (0.99 ถึง 3.58) pg/mL P-value 0.001 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม คะแนนความเจ็บปวดไม่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของระดับพลาสมาเมตะเนฟริน สรุปผล การดูดเลือดจากสายสวนหลอดเลือดที่คาไว้เป็นวิธีการเก็บเลือดที่ช่วยลดผลบวกลวงได้เมื่อเทียบกับการเจาะเลือดจากหลอดเลือดดำโดยตรง-
dc.description.abstractalternativeBackground: Pre-analytical factors including posture during blood collection, diet, medications, or pain have effect on the plasma free metanephrines (PMNs) levels. However, few data were available about the stress or pain effects during blood sample collection on PMNs levels.  Methods: Fifty heathy normotensive participants (25 men) were recruited into the study. We collected blood in supine position and rest at least 30 minutes by using an indwelling cannula. Venipuncture on the contralateral arm was done consecutively. Pain score was evaluated during venipuncture. Results: Plasma concentrations of free metanephrine (MN) and 3-methoxytyramine (3MT) were higher with blood sampling using venipuncture compared to that using an indwelling cannula with mean difference were MN 4.73 (0.44 to 9.02) pg/ml, P-value 0.031 and 3MT 2.28 (0.99 to 3.58) pg/ml, P-Value 0.001, respectively. However, pain score and difference of PMNs were not correlated significantly. Conclusion: Drawing blood from indwelling cannula was preferred than venipuncture to avoid false positive results.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.1135-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการเจาะหลอดเลือดดำ-
dc.subjectเลือด -- การวิเคราะห์-
dc.subjectVeins -- Puncture-
dc.subjectBlood -- Analysis-
dc.titleความแตกต่างระหว่างระดับเมตะเนฟรินในเลือดที่ได้จากการเจาะเลือดจากหลอดเลือดดำทันทีและการดูดเลือดผ่านสายสวนหลอดเลือดหลังการเจาะคาไว้ 30 นาที-
dc.title.alternativeDifferences in plasma metanephrines level between blood collected by direct venipuncture and an indwelling intravenous  cannula-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.1135-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6370075430.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.