Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSumalee Chinokul-
dc.contributor.authorThanakorn Santanatanonw-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Education-
dc.date.accessioned2022-07-23T04:31:39Z-
dc.date.available2022-07-23T04:31:39Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79693-
dc.descriptionThesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2021-
dc.description.abstractWhether students benefit from written corrective feedback may depend on their level of engagement with the feedback. To date, student engagement with written corrective feedback has been investigated qualitatively. However, the association between student engagement with feedback and learning outcomes that result from that engagement has not been examined. Moreover, little attention has been paid to secondary students’ engagement with written corrective feedback because most studies have focused on university students. Therefore, this mixed-method experimental study was conducted to discern if there is an association between student engagement with feedback and English writing grammar accuracy and explore how high school students engaged with the feedback behaviorally, affectively, and cognitively. Writing tests and a questionnaire were conducted with 26 tenth graders, and focus group interviews were conducted with five randomly-selected participants before, during, and after the intervention. The results indicated that there was no significant association between the variables. Our results indicate that students’ engagement with WCF had both negative and positive effects on their English language writing accuracy. The nature of their engagement with this type of feedback was ultimately found to be complex and linked to the three dimensions of student engagement.-
dc.description.abstractalternativeประโยชน์ที่นักเรียนได้จากข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับหลักไวยากรณ์อาจขึ้นกับความยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับ ในปัจจุบันการศึกษาเรื่องความยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับมักศึกษาในรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพเพียงอย่างเดียว อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างความยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับและผลการเรียนรู้จากความยึดมั่นผูกพันยังไม่มีการศึกษา นอกจากนี้การศึกษาความยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายยังไม่เป็นประเด็นที่อยู่ในความสนใจมากนัก ดังนั้นการวิจัยแบบผสมผสานเชิงการทดลองนี้จึงศึกษาเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับกับความแม่นยำหลักไวยากรณ์การเขียนภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาว่านักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความยึดมั่นผูกพันกับข้อมูลป้อนกลับอย่างไรในเชิงพฤติกรรม จิตพิสัยและพุทธิพิสัย เครื่องมือสำหรับการวิจัยนี้ คือ ข้อสอบเขียนย่อหน้า และ แบบสอบถามเกี่ยวกับความยึดมั่นผูกพันกับข้อมูลป้อนกลับของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 26 คน และแบบสัมภาษณ์การสนทนากลุ่มของกลุ่มนักเรียนในกลุ่มตัวอย่างเดียวกันโดยเลือกแบบสุ่ม จำนวน 5 คน ทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการทดลองใช้ความยึดมั่นผูกพันกับข้อมูลป้อนกลับของครู ผลการศึกษาไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างความยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับกับความแม่นยำหลักไวยากรณ์การเขียนภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ยังพบว่าผลจากการยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับส่งผลต่อความแม่นยำหลักไวยากรณ์การเขียนภาษาอังกฤษในแง่บวกและแง่ลบ ในส่วนของลักษณะของความยึดมั่นผูกพันต่อข้อมูลป้อนกลับของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างพบว่ามีความซับซ้อนและความยึดมั่นผูกพันเชิงพฤติกรรม จิตพิสัยและพุทธิพิสัยมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.384-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectEnglish language -- Study and teaching (Secondary)-
dc.subjectEnglish language -- Grammar-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- ไวยากรณ์-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleExploring and analysis of student engagement in English writing grammar accuracy based on teacher written corrective feedback-
dc.title.alternativeการศึกษาความยึดมั่นผูกพันของนักเรียนต่อการแก้ไขไวยากรณ์ในงานเขียนภาษาอังกฤษตามข้อมูลป้อนกลับของครู-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Education-
dc.degree.levelMaster’s Degree-
dc.degree.disciplineTeaching English as a Foreign Language-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.384-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6288003527.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.